Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุนิสา ทรงสายคัท
dc.contributor.authorรัตติพร โกสุวิน
dc.contributor.authorปะการัง ศรีมี
dc.contributor.authorสันธาน จันทะมุด
dc.contributor.authorกนกวรรณ ยงยุน
dc.contributor.authorกัญชลิตา ทวอตเมตาแนนต์
dc.date.accessioned2022-05-30T14:48:53Z-
dc.date.available2022-05-30T14:48:53Z-
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21598-
dc.identifier.urihttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/249295
dc.description.abstractบทนํา: การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีตั้งแต่วัยเด็กเป็นสิ่งสําคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้บุคคลนั้นเติบโตมาเป็นผู้ที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติอย่างถูกต้องย่อมช่วยส่งเสริมและป้องกัน ปัญหาสุขภาพได้ในอนาคตวัตถุประสงค์การวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลัง การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผล ของโปรแกรมการสอนสุขศึกษาที่มีต่อความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ เรื่อง สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ ระเบียบวิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชุมชนวัดเชี่ยวโอสถ จังหวัดนครนายก จําานวน 23 คน โดยจะได้รับโปรแกรมการสอนสุขศึกษา ระยะเวลาดําเนินการ 5 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการสอนสุขศึกษา 2) แบบวัดความรู้ เรื่อง สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ 3) แบบวัดพฤติกรรมสุขภาพ เรื่อง สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ ร้อยละ และสถิติ Paired sample t-test ที่ระดับนัยสําคัญ ผลการวิจัย: พบว่าภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้และพฤติกรรมก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ p = .001 และ .017 ตามลําาดับ รวมถึงความพึงพอใจที่มีต่อโปรแกรมการสอนสุขศึกษาหลังเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.88, SD.= 0.43) สรุปผล: ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการสอนสุขศึกษาด้วยหนังสือนิทานนั้น สามารถส่งเสริมให้นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ข้อเสนอแนะ: งานวิจัยนี้สามารถนําไปเป็นข้อมูลในการวางแผนการดูแลและสอนเพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาสามารถปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติได้ Introduction: Having good health habits from childhood is essential to grow up to be a healthy person. By cultivating children and youth, the appropriate implementation of the Ten National Health Recommendations can promote and prevent future health problems. Research objectives: This research study used a quasi-experimental research approach utilizing the one group pre-test/post-test design. The purposes of this research were to study the effects of the health educational program on the knowledge and health behaviors of primary school students concerning the Ten National Health Recommendations, before and after organizing the health educational program. Research methodology: The samples comprised Grade 4 students at Wat Chiao Osot Community School in Nakhon Nayok Province. The total number of sampled students was 23, who participated in the health educational program over a period of five weeks. The research instruments included 1) the health educational program, and 2) questionnaires to gather data concerning the knowledge 3) questionnaires to gather data concerning health behaviors, and 4) a satisfaction assessment form. The data were analyzed by using descriptive statistics consisting of mean, standard deviation, frequency, percentage and paired sample t-test at a significance level of .05. Results: The results showed that the knowledge scores and health behaviors scores for the participants, after participation in the program, exhibited statistically significant differences with p-values of .001 and .017, respectively. Additionally, the students' satisfaction towards the health educational program, after participating in the program, was at the highest level ( = 4.88, SD. = 0.43). Conclusions: The results showed that health education program with fairy tale can development of knowledge and health behaviors of Grade 4 students. Implications: The results of this research could be useful as information for maintenance and teaching plan development in order to ensure that primary school students can act in accordance with the Ten National Health Recommendations.
dc.languageth
dc.subjecthealth educational program
dc.subjecthealth behaviors
dc.subjectTen National Health Recommendations
dc.subjectprimary school students
dc.subjectโปรแกรมการสอนสุขศึกษา
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพ
dc.subjectสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษา
dc.titleผลของโปรแกรมการสอนสุขศึกษาที่มีต่อความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ เรื่อง สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนชุมชนวัดเชี่ยวโอสถ จังหวัดนครนายก
dc.title.alternativeThe Effect of Health Educational Program on Knowledgeand Health Behaviors of Ten National Health Recommendations among PrimarySchool Students in Wat Chiao Osot Community School, Nakhon Nayok Province
dc.typeArticle
dc.identifier.bibliograpycitationJournal of Health and Nursing Research Vol.37 No.1 January - April 2021
Appears in Collections:Pt-Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.