Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21586
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อ้อมใจ แต้เจริญวิริยะกุล | |
dc.contributor.author | ธนิกาญจน์ จ้อยเสือร้าย | |
dc.contributor.author | สิริกาญจน์ วัฒน์ศรีธานัง | |
dc.contributor.author | อภิสรา โสมทัศน์ | |
dc.date.accessioned | 2022-05-30T14:48:52Z | - |
dc.date.available | 2022-05-30T14:48:52Z | - |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21586 | - |
dc.identifier.uri | https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnat-ned/article/view/241524 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพกับความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มวัยทำงานในตำบลโพธิ์แทน จังหวัดนครนายก กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 255 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ และความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพ มีค่าความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.89 ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 50-59 ปี มีสุขภาพกายอยู่ในภาวะอ้วน (Mean = 24.42, S.D. = 4.73) ภาวะสุขภาพด้านจิตใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ ระดับการรับรู้ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 2.12, S.D. = 0.67 และ Mean = 2.94, S.D. = 0.34 ตามลำดับ) และมีความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.16, S.D. = 0.64) นอกจากนี้ พบว่าความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน มีความสัมพันธ์ระดับต่ำทางลบต่อภาวะสุขภาพในด้านการรับรู้ข่าวสารทางด้านสุขภาพ (r= -0.264) และพฤติกรรมสุขภาพ (r= -0.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับกลุ่มวัยทำงานเป็นอย่างยิ่ง The survey research aimed to study the relationship between health status health behaviors and health promotion needs of the workers in Phothaen, Ongkharak District, Nakhon Nayok Province. The subjects consisted of 255 worker age 20-59 years who in the responsibility area of Ban Khamen FungTai health promoting hospital The research instrument was questionnaire with Cronbach’s alpha coefficient at 0.88 Data were analyzed by descriptive statistics Chi-square test and Pearson's product correlation coefficient. The findings of the study revealed that, the majority of subjects were females aged between 50-59 years and overweight (BMI average = 24.42 S.D. = 4.73). The mental health status of subjects was normal level. The overall mean score on health perception (mean= 2.12 S.D.= 0.67) and health behaviors (mean = 2.94 S.D.= 0.34) were at a moderate level. The health promotion need (mean = 3.16 S.D.= 0.64) was a high level. According to the study on relationship between health status and health needs of the workers, showed that health perception and health behaviors were significantly related with health promotion need of the workers (P - value <0.05). The results of this study suggests that, can be used as the basis for organizing and planning health promotion program, which is important and necessary for the workers. | |
dc.language | th | |
dc.subject | ภาวะสุขภาพ | |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | |
dc.subject | วัยแรงงาน | |
dc.subject | health status | |
dc.subject | health behaviors | |
dc.subject | health promotion needs | |
dc.subject | workers | |
dc.title | ภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ และความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน ตำบลโพธิ์แทน จังหวัดนครนายก | |
dc.type | Article | |
dc.identifier.bibliograpycitation | Vol. 38 No. 2 (2020): Journal of Nursing and Health care: (April-June) 2020 | |
Appears in Collections: | Pt-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.