Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21585
ชื่อเรื่อง: | ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกางข้อสะโพก และมุมการเอียงของกระดูกเชิงกราน ขณะยืนด้วยขาข้างเดียว และยืนย่อด้วยขาข้างเดียวในคนปกติ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | The relationship between hip abductor strength and pelvic obliquity angle during single leg stance and single leg squat in healthy subjects |
ผู้แต่ง: | ชัชฎา ชินกุลประเสริฐ จิรวัฒน์ วงศ์ธีรภัค ชนากานต์ คงกตัญญูสกุล ธันยา หมัดสะและ |
Keywords: | กล้ามเนื้อ กระดูกเชิงกราน Pelvic drop Single leg stance Single leg squat Hip abductor Thoracic obliquity angle |
วันที่เผยแพร่: | 2563 |
บทคัดย่อ: | ที่มาและความสำคัญ: การยืนและยืนย่อขาข้างเดียวเป็นการประเมินกล้ามเนื้อกางสะโพกที่ใช้บ่อยทางคลินิก การศึกษาที่ผ่านมา การยืนขาข้างเดียวในคนที่มีกล้ามเนื้อกางสะโพกอ่อนแรง อาจไม่พบการเอียงของเชิงกรานเสมอไป แต่การศึกษาเกี่ยวกับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสะโพกกับการเอียงของเชิงกรานขณะยืนและยืนย่อขาข้างเดียวยังไม่แน่ชัด Background:Single leg stance (SLST) and Single leg squat (SLSQ)are functional tests that are commonly used to evaluate hip abductor performance. The previous studies found that SLST and SLSQ testing inperson with hip abductor weakness may not always exhibit the lateral pelvic drop. There are a few studies regarding the relationship between hip muscle strength and lateral pelvic drop during SLST and SLSQ that were still unclear.Objective:To investigate the relationshipbetween each hip abductor muscle (HABD)strength andpelvic obliquity angle(PO), Thoracicobliquity angle(TO) duringSLST and SLSQ.Methods:Fiftyhealthy males and females, aged20.6±1.4 years,were measured HABD strength including gluteus maximus(GMax), gluteusmedius(GMed) and tensor fascia latae(TFL)by hand-held dynamometer(HHD).Kinematic datawere collected by using motion analysis system during SLST and SLSQ. Results:During SLST, there were onlysignificant correlations (p<0.05) betweenGMax and TO (r=-0.397), TFL and TO (r=-0.393),but there was nosignificant correlation between HABD strength and TOduring SLSQ.Conclusion:There was nosignificant correlation betweenthree HABD strength and PO during SLST and SLSQ.It was possible that theHABD strength of all participants in the current study may be similar. วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกางสะโพกแต่ละมัด กับมุมเอียงของเชิงกรานและลำตัว ขณะยืนและยืนย่อขาข้างเดียว วิธีการวิจัย: อาสาสมัครชายและหญิง 50 คน อายุเฉลี่ย 20.6±1.4 ปี ถูกวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อด้วย Hand-held dynamometer และมุมเอียงของเชิงกรานและลำตัวด้วย VICON™ motion analysis system ขณะยืนและยืนย่อขาข้างเดียว ผลการวิจัย: พบเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ GMax และ TFL กับมุมเอียงของลำตัวขณะยืนขาข้างเดียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=-0.397, -0.393; p<0.05 ตามลำดับ) สรุปผล: ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกางสะโพกทั้ง 3 มัดและมุมเอียงของเชิงกรานขณะยืนและยืนย่อขาข้างเดียว เป็นไปได้ว่าอาสาสมัครในการศึกษานี้มีสมรรถภาพของกล้ามเนื้อกางสะโพกใกล้เคียงกัน ดังนั้นการทดสอบด้วยวิธีดังกล่าวอาจไม่สามารถแยกแยะสมรรถภาพของกล้ามเนื้อกางสะโพกอย่างละเอียดในคนปกติได้ |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21585 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjpt/article/view/115429 |
Appears in Collections: | Pt-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.