Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21575
Title: ความชุกและพฤติกรรมสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อปรสิตในลำไส้ของประชาชนในพื้นที่ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
Other Titles: Prevalence and health behaviors related to intestinal parasite infections among population in Phra Achan sub-district, Ongkharak district, Nakhon Nayok province
Authors: รัตน์ติพร โกสุวิน
ปะการัง ศรีมี
ภัทธกร บุบผัน
สุนิสา สงสัยเกตุ
Keywords: ปรสิตในลำไส้
หนอนพยาธิ
โปรโตซัวในลำไส้
พฤติกรรมสุขภาพ
intestinal parasite
helminthes
intestinal protozoan
health behavior
Issue Date: 2564
Abstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการติดเชื้อหนอนพยาธิและโปรโตซัวในลำาไส้ของประชาชนในพื้นที่ ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความชุกของการติดเชื้อปรสิตในลำไส้กับุพฤติกรรมสุขภัาพ เก็บุตัวอย่างอุจจาระ จำนวนทั้งสิ้น 163 ตัวอย่าง ในช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม 2561 โดยนำตัวอย่างอุจจาระมาตรวจวินิจฉัยด้วยวิธี Formalin-Ethyl Acetate Concentration Technique (FECT) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบุบุสอบุถามข้อมูลทั่วไปและพฤติกรรมสุขภัาพที่เกี่ยวข้องกับุการป้องกันและควบุคุมโรคปรสิตในลำไส้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อปรสิตในลำไส้กับพฤติกรรมสุขภาพ โดยการทดสอบไคสแควร์ (chi-squared test) ผลการศึกษา พบว่า ร้อยละ 48.4 ของตัวอย่างอุจจาระพบการติดเชื้อปรสิตในลำไส้ ประกอบด้วย เชื้อโปรโตซัว ร้อยละ 47.8 และการติดเชื้อหนอนพยาธิ ร้อยละ 1.8 ปรสิตในลำไส้ที่พบุมากที่สุด ได้แก่ Giardia lambliaร้อยละ 24.5, Endolimax nana ร้อยละ 18.4, Entamoeba coli ร้อยละ 3.1, Blastocystis hominis ร้อยละ 0.6 และ Ascaris lumbricoides ร้อยละ 0.6 นอกจากนี้ยังพบุการติดเชื้อร่วมกัน ร้อยละ 0.6 ระหว่าง Ascaris lumbri-coides และ Giardia lamblia และระหว่าง Ascaris lumbricoides และ Entamoeba coli ตามลำดับุ ด้านพฤติกรรมสุขภัาพ ได้แก่ การสวมรองเท้าก่อนออกนอกบ้าน การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และการล้างมือหลังออกจากห้องส้วม มีความสัมพันธ์กับุการติดเชื้อปรสิตในลำไส้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
The aims of this study were to investigate the prevalence of helminth and intestinal protozoan infection among inhabitants of Phra Achan Subdistrict, Ongkharak District, Nakhon Nayok Province, and examine its relationship with health behaviors. A total of 163 stool samples were collected between September and December 2018. The samples were examined using the Formalin-ethyl acetate concentration technique (FECT). A questionnaire was used to collect general information and health behaviors related to the prevention and control of intestinal parasitic infections. The relationship between intestinal parasiticinfections and health behaviors were subsequently determined using a chi-square test. The results showed that 48.4% of the stool samples had intestinal parasites, consisting of 47.8% protozoan and 1.8% helminthic infections. The most common intestinal parasites were identified as Giardia lamblia (24.5%), Endolimax nana (18.4%), Entamoeba coli (3.1%) Blastocystis hominis (0.6%) and Ascaris lumbricoides (0.6%). The coinfection between Ascaris lumbricoides and Giardia lamblia and the coinfection between Ascaris lum-bricoides and Entamoeba coli were reported at 0.6%. Health behaviors, including wearing shoes when leav-ing the house, and hand washing before meals or after leaving the toilet, had a significant relationship (p<0.05) with reduced intestinal parasitic infections.
URI: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/DCJ/article/view/244183/170349
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21575
Appears in Collections:Pt-Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.