Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/16725
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศิริพร ดาบเพชร | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-03-10T02:59:07Z | - |
dc.date.available | 2022-03-10T02:59:07Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/16725 | - |
dc.description | รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ทุนพัฒนาศักยภาพในการทํางานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปีงบประมาณ 2561-2563 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการจัดการความขัดแย้งในจีนกรณีมุสลิมอุยกูร์ในซินเจียง ในประเด็นสำคัญได้แก่ นโยบายชนกลุ่มน้อยของจีน สาเหตุของปัญหา และการแก้ไขปัญหา ในซินเจียง ผลการศึกษาพบว่า นโยบายชนกลุ่มน้อยของรัฐบาลจีนตั้งแต่ ค.ศ. 1949 - ปัจจุบัน เป็นไปไปตามบริบทภายในภายนอกและนโยบายของผู้นำ ในช่วงแรกของ สาธารณรัฐประชาชนจีนจะเน้นการกลืนกลายทางวัฒนธรรม และนโยบายปราบปรามกลุ่ม ต่อต้าน ในยุคปฏิรูปประเทศ (ทศวรรษ 1980) เริ่มใช้นโยบายผ่อนปรนเพื่อแก้ปัญหา ความขัดแย้ง และตั้งแต่ทศวรรษ 2000 เป็นต้นมาที่กลุ่มต่อต้านรัฐบาลจีนในซินเจียงได้รับ การสนับสนุนจากองค์กรมุสลิมหัวรุนแรงภายนอกประเทศทำให้ทางการใช้ทั้งนโยบายที่ เข้มงวดเพื่อปราบปราม และการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของชนกลุ่มน้อยเพื่อ แก้ปัญหาความขัดแย้ง ซึ่งความขัดแย้งมีทั้งจากสาเหตุในประวัติศาสตร์ที่จีนใช้กำลังเข้ายึด ครองซินเจียง การที่ทางการจีนใช้วิธีกลืนกลายทางวัฒนธรรมชาวมุสลิมอุยกูร์ที่แตกต่างทั้ง ชาติพันธุ์ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม การเรียกร้องเอกราชโดยเห็นตัวอย่างจากประเทศ มุสลิมในเอเชียกลางและได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มแบ่งแยกดินแดนภายนอก และสาเหตุ จากความไม่เท่าเทียมทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม โอกาสในการศึกษาและการทำงานที่คน จีนฮั่นได้รับประโยชน์มากกว่า ซึ่งเพิ่มความรู้สึกไม่พอใจในหมู่ชาวอุยกูร์ทำให้รัฐบาลจีน ส่งเสริมวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยมากขึ้นและสร้างความเท่าเทียมให้เกิดขึ้นด้วยการ พัฒนาฐานะความเป็นอยู่และการห้ามเจ้าหน้าที่รัฐเลือกปฏิบัติ | th_TH |
dc.description.abstract | This research examined the issue of Muslim Uyghurs in Xinjiang, stressing on China’s ethnic policies, causes of conflict, and conflict management of the Chinese government. The findings have shown that China’s ethnic policies since 1949 are set in internal and external social and policy contexts. In the early years of PRC, the policy is cultural acculturation by prohibiting religious practicesof the Uyghurs and suppressing protesters. In 1980s, cultural reconciliation is the government’s attempt to solve conflicts. Since 2000s anti-government groups in Xinjiang have been encouraged by radical and external Islamic groups. Ethnic minority policy thus balances between the forces and economic development. Causes of conflict deal with the occupation of Xinjiang, the cultural acculturation, the seeking of Xinjiang’s independence, the support for external separatist groups, and socio-economic inequality. The government is thus delivering economic development and well-being to ethnic minorities as well as prohibits official’s discrimination to reduce ethnic’s tendency of separation. | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.subject | Uyghur | - |
dc.subject | Xinjiang | - |
dc.subject | Conflict Management | - |
dc.subject | China | - |
dc.subject | มุสลิมอุยกูร์ | th_TH |
dc.subject | อุยกูร์ | th_TH |
dc.subject | ซินเจียง | th_TH |
dc.subject | จีน | th_TH |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การจัดการความขัดแย้ง | th_TH |
dc.title | การจัดการความขัดแย้งในจีน: กรณีมุสลิมอุยกูร์ในซินเจียง | th_TH |
dc.title.alternative | Conflict Management in China: A Case of Muslim Uyghurs in Xinjiang | - |
dc.type | Technical Report | th_TH |
Appears in Collections: | His-Technical Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Soc-Siriporn-D-Conflict.pdf | 3.98 MB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.