Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15800
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิพิมล ประพินพงศกรth_TH
dc.contributor.authorจันทร์กะพ้อ พิณอภิรักษ์th_TH
dc.contributor.authorพรชนก หมีน้ำเงินth_TH
dc.contributor.authorรัชนีกร โพธิ์เสนาth_TH
dc.contributor.authorอรวี เทพมณฑาth_TH
dc.contributor.authorธวชินี พลแก้วth_TH
dc.contributor.authorธันย์ชนก ปานรุ่งโรจน์th_TH
dc.contributor.authorรุจิรา คงกำเหนิดth_TH
dc.contributor.authorอัยยดา จรกาth_TH
dc.date.accessioned2021-12-19T05:01:08Z-
dc.date.available2021-12-19T05:01:08Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15800-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับรู้และการเข้าถึงสารสนเทศเกี่ยวกับโควิด-19 ของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับรู้และปัญหาการรับรู้สารสนเทศด้วย จากการจำแนกตามตัวแปรชั้นปีและกลุ่มคณะ โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชั้นปีที่ 1-4 ทั้งหมด 21 คณะ ได้แก่ คณะพลศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะกายภาพบำบัด คณะสังคมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์การเกษตร คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และวิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน ประจำปีการศึกษา 2564 รวมทั้งสิ้นจำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า นิสิตมีพฤติกรรมการรับรู้และเข้าถึงสารสนเทศเกี่ยวกับโควิด-19 ทราบข้อมูลการรับรู้อาการเบื้องต้น เช่น มีน้ำ มูก มีไข้ เจ็บคอ จำนวน 80 คน และไม่ทราบข้อมูล ไวรัสโควิด-19 ไม่ติดทางพัสดุ จำนวน 48 คน การนำสารสนเทศโควิดไปใช้ อยู่ในระดับมาก การใช้สารสนเทศในการรับข้อมูลป้องกันโควิด-19 อยู่ในระดับมาก ช่องทางการรับรู้และเข้าถึงสารสนเทศ อยู่ในระดับปานกลาง และช่องทางการรับรู้สารสนเทศเกี่ยวกับ โควิด-19 พบว่า สื่อโซเชียลมิเดีย เป็นช่องทางการรับรู้สารสนเทศเกี่ยวกับ โควิด-19 มากที่สุด จากผลการวิจัยพบว่า นิสิตมีปัญหาการรับรู้และเข้าถึงสารสนเทศอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากมีการไม่ทราบถึงแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.subjectการรับรู้-
dc.subjectโควิด-19th_TH
dc.subjectสารสนเทศth_TH
dc.titleรายงานโครงการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการรับรู้สารสนเทศเกี่ยวกับโควิด-19 ของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
Appears in Collections:IS-Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
IS_Jankapor_P.pdf
  Restricted Access
1.13 MBPDFView/Open Request a copy
IS_Jankapor_P_Poster.pdf
  Restricted Access
538.09 kBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.