Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15794
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศศิพิมล ประพินพงศกร | th_TH |
dc.contributor.author | จรัญ ไชยวุฒิ | th_TH |
dc.contributor.author | ธนวินท์ พึ่่งขจรบุญ | th_TH |
dc.contributor.author | วรัญญู ขลิบปั้น | th_TH |
dc.contributor.author | สิทธิโชค สายบุญสา | th_TH |
dc.contributor.author | อภิมุข อารีเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | ธรรมชาติ อริยผลธรรม | th_TH |
dc.contributor.author | ปพนธีร์ อโมศรี | th_TH |
dc.contributor.author | พิณธัญ เกียรตินิพูล | th_TH |
dc.date.accessioned | 2021-12-19T03:54:09Z | - |
dc.date.available | 2021-12-19T03:54:09Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15794 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ศึกษาทักษะความเข้าใจเรื่อง DQ (Digital Intelligence Quotient) ของนิสิต โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างการวิจัยคือ นิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ชั้นปีที่ 1-4 โดยการส่งแบบวัดพฤติกรรมแก่นักศึกษากลุ่มตัวอย่างผ่านทาง google form ได้มีการตอบกลับแบบสอบถามคืนมาเป็นจำนวน 100 ฉบับ แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยในการวิเคราะห์การวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า นิสิตระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ชั้นปีที่ 1-4 จ านวน 100 คน 1) นิสิตมีการใช้สมาร์ตโฟนในการเข้าถึงสื่อดิจิทัลมากเป็นลำดับแรก รองลงมาคือ คอมพิวเตอร์ และแท็บเล็ต ตามลำดับ 2) สื่อที่เข้าถึงส่วนมากเป็น Instagram รองลงมาคือ Line และ Twitter ตามลำดับ 3) ส่วนของจุดประสงค์การใช้งานสื่อดิจิทัล ใช้เพื่อความบันเทิงเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ เพื่อติดตามข้อมูลข่าวสาร เพื่อการศึกษา เพื่อแสดงจุดยืนของตนเองในเรื่องต่างๆ และเพื่อการทำธุรกิจ ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายข้อตามเกณฑ์การประเมินทักษะความเข้าใจเรื่องความฉลาดทางดิจิทัลทั้ง 8 ด้าน พบว่า ระดับของทักษะและความเข้าใจเรื่อง DQ (Digital Intelligence Quotient) ของนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อยู่ในระดับมาก และยังมีความไม่เข้าใจในทักษะด้านการแสดงตัวตนบนโลกดิจิทัล (Digital Citizen) | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.subject | ความฉลาดทางดิจิทัล | th_TH |
dc.subject | Digital Intelligence Quotient | th_TH |
dc.title | รายงานโครงการวิจัยเรื่องการศึกษาทักษะความเข้าใจเรื่อง DQ (Digital Intelligence Quotient) ของนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.type | Working Paper | th_TH |
Appears in Collections: | IS-Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
IS_Jaran_C.pdf Restricted Access | 1.04 MB | View/Open Request a copy | ||
IS_Jaran_C-Poster.pdf Restricted Access | 872.03 kB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.