Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15738
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญไชย ไทยเจียมth_TH
dc.contributor.authorศุภณัฐ บุญประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorพีรวัส ตาแสงth_TH
dc.contributor.authorปพน วสุธารีย์th_TH
dc.date.accessioned2021-11-10T06:05:40Z-
dc.date.available2021-11-10T06:05:40Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15738-
dc.description.abstractโครงงานวิศวกรรมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์มาใช้สำหรับคาดการณ์ความแรงของสัญญาณที่ได้รับในเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยแบบจำลองที่นำมาใช้มี 2 แบบ คือ แบบจำลองการสูญเสียตามเส้นทางภายนอกอาคาร และแบบจำลองการสูญเสียตามเส้นทางภายนอกอาคารไปยังภายในอาคาร สำหรับคาดเดาค่าความแรงของสัญญาณที่ได้รับ โดยภายนอกอาคารนั้น จะศึกษาบริเวณหอพักนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ องครักษ์ โดยมีขอบเขต คือ รัศมี 200 เมตร จากสถานีส่ง และสำหรับภายในอาคารจะศึกษาที่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ บริเวณทางเดินชั้นหนึ่งและชั้นสอง เนื่องจากภายในอาคารนั้นไม่มีสถานีส่งจึงต้องใช้แบบจำลองการสูญเสียตามเส้นทางภายนอกอาคารไปยังภายในอาคารในการศึกษา โดยโครงงานนี้จะทำการสร้างแบบจำลองในโปรแกรม MATLAB และแผนผังสามมิติของความแรงของสัญญาณที่ได้รับจาการวัดจริง และนำมาเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่งจากการทดลองพบว่าแบบจำลองที่สร้างขึ้นนั้นมีแนวโน้มไปในทางเดียวกับค่าที่วัดได้จริง อย่างไรก็ตามแบบจำลองที่นำมาใช้ ในโครงงานวิศวกรรมฉบับนี้อาจไม่เหมาะสมที่จะคาดเดาค่าความแรงของสัญญาณที่ได้รับได้อย่างแม่นยำth_TH
dc.description.abstractThis engineering project aims to use propagation models to predict the received signal strength (RSS) in mobile communication. We use two propagation models as outdoor propagation model and outdoor to indoor propagation model that consider the RSS. For outdoor, we consider at dormitory of Srinakharinwirot Ongkharak Campus 200 m. around the base station. For indoor, we consider at HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center’s first and second floors passages. Due to no transmitter inside the building, we have to use outdoor to indoor propagation model to predict the RSS. In this project, The MATLAB is employed to calculate RSS and create 3D model for comparing and analyzing results from propagation model and measurement. In simulation, results indicate that the propagation models have corresponded to measurement. However the propagation models which have been employed in this thesis may not be appropriate to get prefect results.-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.subjectการสื่อสารไร้สายth_TH
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่th_TH
dc.subjectReceived signal strengthth_TH
dc.titleแบบจำลองการแพร่กระจายในการสื่อสารไร้สายของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่ย่านความถี่ 2100 เมกะเฮิรตซ์th_TH
dc.title.alternativePropagation model in wireless communication for mobile communication at 2100 mhzth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
Appears in Collections:EleEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Supanut_B.pdf
  Restricted Access
8.23 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.