Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/10075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประทีป จีนงี่th_TH
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ เกษมเนตรth_TH
dc.contributor.authorชูศรี วงศ์รัตนะth_TH
dc.contributor.authorประณต เค้าฉิมth_TH
dc.contributor.authorยุทธนา ไชยจูกุลth_TH
dc.contributor.authorทัศนา ทองภักดีth_TH
dc.contributor.authorพวงรัตน์ เกษรแพทย์th_TH
dc.date.accessioned2020-12-10T05:32:20Z-
dc.date.available2020-12-10T05:32:20Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/10075-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างนวัตกรรมที่เป็นชุดกิจกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต ของผู้สูงอายุ และเพื่อประเมินประสิทธิผลของนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น วิธีดำเนินการวิจัย มี2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการ สร้างนวัตกรรม บนฐานแนวคิดของหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาร่วมกับทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เป็นแนวคิดการปรับพฤติกรรม ทางปัญญา ส่วนระยะที่ 2 เป็นการประเมินประสิทธิผลของนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 - 79 ปีจำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดกิจกรรมจำนวน 7 กิจกรรม ซึ่งผ่านการหาคุณภาพ ความเที่ยงตรงเชิงพินิจ นอกจากนี้แบบวัดความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ นวัตกรรม ซึ่งแบบวัดทั้ง 2 ชุด ผ่านการหาคุณภาพความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นวัตกรรมที่เป็นชุดกิจกรรม การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้านสุขภาพกาย และสุขภาพจิต จำนวน 7 กิจกรรมดังกล่าว มีประสิทธิผลทำให้ผู้สูงอายุ จำนวนมากกว่าร้อยละ 80 มีความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองในประเด็นต่าง ๆ ผ่านเกณฑ์ในระดับดีและผู้สูงอายุมี ความพึงพอใจต่อนวัตกรรมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.description.abstractThe objective of study was to develop a set of innovative physical and mental self-care activities for the elderly and to assess their effectiveness. It was carried out in two phases. The first phase was creation of innovative activities based on Buddhist principle and psychological theory in cognitive behavioral modification. The second phase was an assessment of effectiveness of those activities. The sample consisted of 32 elderly persons aged between 60 to 79 years. The research instrument was a set of seven innovative activities, all of which had gone through face validity for their quality testing. In addition, the two measures; self-care activity, and satisfaction toward innovative activities, had also reached their quality testing through content validity. The research brought about of innovative physical and mental self-care activities for the elderly, effectively enabling over 80% to take care of themselves in various areas at a good level, and the elderly were very satisfied with them-
dc.language.isothth_TH
dc.subjectนวัตกรรมการดูแลสุขภาพตนเองth_TH
dc.subjectการดูแลสุขภาพจิตth_TH
dc.subjectผู้สูงอายth_TH
dc.titleการพัฒนานวัตกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ในศตวรรษที่ 21th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Self-Care Innovation for The Elderly in the 21st Centuryth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.identifier.bibliograpycitationบรรณศาสตร์ มศว. 12(2) : กรกฎาคม - ธันวาคม 2562th_TH
Appears in Collections:Bsri-Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prateep_J_Article.pdf242.36 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.