Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/10074
Title: | The Development Process and Approach to Enhance Behavioral Science Researchers |
Other Titles: | กระบวนการพัฒนาและแนวทางการเสริมสร้างนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ |
Authors: | Narisara Peungposop Thasuk Junprasert |
Keywords: | Behavioral science researchers Behavioral sciences Applied behavioral science research |
Issue Date: | 2020 |
Abstract: | The objectives of this research were to study the development process of behavioral science researchers and to explore approaches to the enhancement of behavioral science researchers following the research and innovation directions of the country. The qualitative case study was adopted. The key informants were
selected using purposive sampling based on criterion. The first group consisted of graduate students with outstanding research and the second group consisted
of program committees, lecturers, and employers. The data were collected
through in-depth interview. A content analysis was used to analyze the data. The
results found that behavioral science researchers went through the development
process comprised of three stages. The first stage is called “Study Stage” in which
students are trained by lecturers both inside and outside the classroom. The
second stage is called “Research Stage” in which students prepare to conduct
research through self-learning. The last stage is called “Research Publication
Stage” in which students are trained after they have finished their research. For
the strengthening of curriculum and teaching management was suggested by
related parties as a pathway to the enhancement of behavioral science researchers
following the research and innovation directions of the country. Based on
knowledge yielded by this research can be applied by faculty/institute/bureau and
lecturers responsible for graduate programs in different fields of social sciences
to teaching and learning in each field’s context การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษากระบวนการพัฒนานักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ และค้นหา แนวทางเสริมสร้างนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ให้สอดรับกับทิศทางการวิจัยและนวัตกรรมของ ประเทศ ออกแบบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจง ตามคุณสมบัติ กลุ่มแรกเป็นบัณฑิตที่มีผลงานวิจัยโดดเด่น และกลุ่มที่สองเป็น คณาจารย์ ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอน และผู้ใช้บัณฑิต ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า นักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ผ่านกระบวนการบ่มเพาะใน 3 ช่วง ได้แก่ “ช่วง การเรียน” เป็นช่วงที่ได้รับการบ่มเพาะจากอาจารย์ผู้สอนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน “ช่วงการทำวิจัย”เป็นช่วงที่ผู้เรียนเตรียมพร้อมที่จะทำาปริญญานิพนธ์ ใช้การเรียนรู้ด้วย ตนเอง และ “ช่วงเผยแพร่ผลงานวิจัย” เป็นการบ่มเพาะผู้เรียนภายหลังการทำวิจัยแล้ว มี อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นแมวมอง และพยายามเรียนรู้จากงานต้นแบบ ส่วนแนวทางการ เสริมสร้างนักวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ให้สอดรับกับทิศทางการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ จากมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พบว่า การบริหารจัดการด้านหลักสูตร และการบริหาร จัดการด้านการเรียนการสอน เป็นจุดที่หลักสูตรควรพัฒนาเพื่อเสริมความแข็งแข็งที่มีอยู่ผล จากการวิจัยทำให้ได้องค์ความรู้เชิงลึกที่ผู้บริหารและคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษาในสาขาสังคมศาสตร์สามารถนำข้อค้นพบไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ สอนให้เหมาะสมกับบริบทของสาขาวิชา |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/10074 |
Appears in Collections: | Bsri-Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Narisara_P_Article.pdf | 995.92 kB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.