DSpace Repository

กำเนิด “ภูมิกายา” และพื้นที่สมัยใหม่ของล้านนาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว/ The origin of “Geo-body” and the modern area in Chiang Mai in the reign of King Chulalongkorn

Show simple item record

dc.contributor.author โดม ไกรประกรณ์
dc.date.accessioned 2024-02-14T06:53:58Z
dc.date.available 2024-02-14T06:53:58Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA/article/view/27532/23622
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30173
dc.description.abstract This article aims to study the origin of “Geo-body” (Geographical shape) and the modernity in upper Lanna in the era of King Chulalongkorn of Siam. Before Lanna was annexed to Siam, Buddhist beliefs, such as Trai-Phum (Three Worlds), and hierarchy of towns and cities influenced the origin of Geo-body. Trai Phum devided the world into 31 layers. After Lanna rulers contacted with westerners, several modern buildings were built at the center of the city, such as Chiang Mai; however, the origin of Geo-body was not much affected. During the time of King Chulalongkorn, Lanna was annexed by Siam who tried to form a new Geo-body of Lanna which was established to fit with the one of Siam. It had been built after the western concept and shaped by the settlement of Christian Missionaries, the city became a new area under a new Geo-body.
dc.language.iso th
dc.subject ภูมิกายาของล้านนา
dc.subject ประวัติศาสตร์ล้านนา
dc.subject Geobody of Lanna
dc.subject History of Lanna
dc.title กำเนิด “ภูมิกายา” และพื้นที่สมัยใหม่ของล้านนาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว/ The origin of “Geo-body” and the modern area in Chiang Mai in the reign of King Chulalongkorn
dc.type Article
dc.identifier.bibliograpycitation หน้าจั่ว. Vol. 11 (2014): กันยายน-ธันวาคม 2557
dc.description.abstractthai บทความนี้มุ่งศึกษาการกำเนิดของ “ภูมิกายา” หรือรูปร่างทางภูมิศาสตร์และการสร้างสถานที่สมัยใหม่ในบริเวณล้านนาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการศึกษาพบว่า เดิมทีนั้นผู้คนในล้านนามองและอธิบายโลกตามคติทางพุทธศาสนาที่เรียกว่าคติไตรภูมิ คือมองว่าโลกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน แต่ละส่วนมีการแบ่งย่อยเป็น 31 ภพ โดยรัฐที่มนุษย์อาศัยอยู่ไม่มีเขตแดนที่แน่นอนตายตัว ขนาดของรัฐจะขยายหรือหดตัวไปตามบารมีและความสามารถของผู้ปกครอง ซึ่งคติไตรภูมิและความเชื่อทางศาสนามีอิทธิพลต่อโลกทัศน์ของชาวล้านนาอย่างมาก ดังเห็นได้จากการที่ล้านนามีการจัดลำดับความสำคัญของเมืองในปริมณฑลอำนาจของตนตามความสำคัญของศาสนสถานที่ตั้งอยู่ในเมืองนั้นๆ จนกระทั่งล้านนาถูกผนวกเข้ากับสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการกำหนด“ภูมิกายา” หรือรูปร่างทางภูมิศาสตร์ที่แน่นอนตายตัวของล้านนาตามความรู้ภูมิศาสตร์แบบตะวันตก ขณะเดียวกันภายในอาณาบริเวณของดินแดนก็มีการสร้างสถานที่สมัยใหม่โดยกษัตริย์ล้านนา รัฐบาลสยาม และมิชชันนารีชาวอเมริกัน เพื่อเป็นการแสดงถึงอัตลักษณ์ของผู้สร้างสถานที่นั้นๆ ในฐานะผู้ที่มีความศิวิไลซ์เหนือกว่าคนกลุ่มอื่นๆ


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics