DSpace Repository

สู่สังคมสุขภาวะ: การพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะของ องค์กรพระพุทธศาสนาจังหวัดนครนายกและสระแก้ว

Show simple item record

dc.contributor.author ชลวิทย์ เจียรจิตต์
dc.contributor.author ชัยวัชร พรหมจิตติพงศ์
dc.contributor.author ธันนิกานต์ สูญสิ้นภัย
dc.date.accessioned 2024-01-08T07:15:17Z
dc.date.available 2024-01-08T07:15:17Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jla_ubu/article/view/262017
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29733
dc.description.abstract Changes in the public’s well-being since the promulgation of the 2nd National Health System Statute is an important starting point for the public’s realization of holistic well-being and awareness of the social determinants of health (SDH). This research aims to 1) study the health capital of monks in Buddhist organizations in Nakhon Nayok and Sa Kaeo provinces for the preparation for the development of health networks, and 2) investigate approaches to health network development of Buddhist organizations in Nakhon Nayok province and Sa Kaeo province. Mixed methodologies were employed in this study with the data collected from the sample groups of monks in Nakhon Nayok and Sa Kaeo (a total of 271 monks), and key informants on health network development of 33 persons. Questionnaires, in-depth interviews, and group discussions were conducted. The data was analyzed with descriptive statistics and content analysis. The findings revealed the following. Firstly, for the health capital of monks’ health, the sample group of 35.2% had the body mass index at normal levels. They had a good healthcare and food consumption practice and were thus well equipped to develop a health network of Buddhist organizations. Secondly, the health network development of Buddhist organizations in Nakhon Nayok and Sa Kaeo have been driven by the network in 2 ways: 1) the learning network for health development, and 2) the practical network for health development with support from an academic network on the knowledge of well-being and the operation under the community-based resource capital towards holistic good health and well-being.
dc.subject การพัฒนาสุขภาวะ
dc.subject เครือข่ายทางสังคม
dc.subject การสร้างเสริมสุขภาพพระสงฆ์
dc.subject องค์กรพระพุทธศาสนา
dc.subject นครนายก
dc.subject สระแก้ว
dc.subject Development of wellbeing
dc.subject Social network
dc.subject Sa Kaeo province
dc.subject Nakhon Nayok province
dc.subject Buddhist Monk’s health enhancement
dc.subject Buddhist organizations
dc.title สู่สังคมสุขภาวะ: การพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะของ องค์กรพระพุทธศาสนาจังหวัดนครนายกและสระแก้ว
dc.title.alternative Toward the Well-being Society: The Development of Health Network, Buddhist Organizations, Nakhon Nayok and Sa Kaeo Provinces
dc.type Article
dc.identifier.bibliograpycitation วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (2022): กรกฎาคม - ธันวาคม 2565
dc.description.abstractthai สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาวะจากการประกาศใช้ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ถือเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการเกิดการตระหนักถึงสุขภาวะอย่างเป็นองค์รวมและการรับรู้ถึงปัจจัยทางสังคมกำหนดสุขภาพ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทุนสุขภาพของพระสงฆ์ในองค์กรพระพุทธศาสนาจังหวัดนครนายกและสระแก้วสำหรับการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะ และ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะขององค์กรพระพุทธศาสนาในจังหวัดนครนายกและสระแก้ว ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี การศึกษาครั้งนี้จึงได้เก็บข้อมูลแบบผสมผสานจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระสงฆ์ในพื้นที่จังหวัดนครนายกและสระแก้ว จำนวน 271 รูป และผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่มีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะ จำนวน 33 รูป/คน ผ่านการใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่มในการเก็บข้อมูล อาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ทุนสุขภาพของพระสงฆ์ในองค์กรพระพุทธศาสนาจังหวัดนครนายกและสระแก้ว กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 35.2 มีเกณฑ์วัดค่าดัชนีมวลกายอยู่ในระดับปกติหรือมีสุขภาพดี และมีความระมัดระวังในการดูแลพฤติกรรมทางสุขภาพและการบริโภคอาหารของพระสงฆ์ซึ่งมีความพร้อมในการพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะขององค์กรพระพุทธศาสนา 2) การพัฒนาเครือข่ายสุขภาวะขององค์กรพระพุทธศาสนาในจังหวัดนครนายกและสระแก้วได้อาศัยการขับเคลื่อนเชิงเครือข่ายใน 2 ลักษณะคือ 1) เครือข่ายเชิงการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาวะ และ 2) เครือข่ายเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาสุขภาวะ โดยมีเครือข่ายภาควิชาการเป็นส่วนสนับสนุนที่สำคัญด้านองค์ความรู้ทางด้านสุขภาพและมี การดำเนินงานเชิงปฏิบัติการภายใต้จุดเริ่มต้นที่เป็นทุนทรัพยากรภายในชุมชนเพื่อก่อให้เกิดการสร้างสุขภาวะอย่างเป็นองค์รวม


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics