DSpace Repository

เครือข่ายพระสงฆ์ลาว: กระบวนการสร้างชุมชนและทุนทางสังคมในสังคมไทย

Show simple item record

dc.contributor.author สายชล ปัญญชิต
dc.contributor.author พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ
dc.contributor.author ชลวิทย์ เจียรจิตต์
dc.date.accessioned 2024-01-08T07:15:17Z
dc.date.available 2024-01-08T07:15:17Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/249860
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29731
dc.description.abstract The research article has three objectives: 1) to study the process of building Lao monk community in Thai society, 2) to study the process of establishing Lao monk network in Thai society, and 3) to analyze the social capital transfer of Lao monk network in Thai society. The study employed mixed methods in which the quantitative research employed a questionnaire as the research instrument. The descriptive statistics were used to explain the basic information of the research sample. While the qualitative research used in-depth interviews and focus group discussions to understand the process of building a community and social capital in Thai society. The results of the study are as follows: 1) Factors involved in the process of building Lao monk community comprise the use of cultural and Buddhist relations, the patronage system of seniors and juniors, the establishment of student affairs, the development of foreign relations by Buddhist universities, and the needs to restore and support Buddhism in Thai society; 2) The process of establishing Lao monk network in Thai society occurs from the push of the Lao student club at the Buddhist universities, the recognition by the government agencies of Lao People’s Democratic Republic, and the support of the ecclesiastical monks in Thai society; and 3) The ability to transfer the social capital of Lao monk network in Thai society is expressed through the relationship network built by members of Lao monk network through interactions with people or organizations in Thai society. Lao monks can pass on the network of their good relationship with the ecclesiastical monks in Thai society leading to the development of relationship network that will benefit the members of Lao monk network in Thai society.
dc.subject พระสงฆ์ลาว
dc.subject การสร้างชุมชน
dc.subject ทุนทางสังคม
dc.subject สังคมไทย
dc.subject Lao Monks
dc.subject Community Building
dc.subject Social Capital
dc.subject Thai Society
dc.title เครือข่ายพระสงฆ์ลาว: กระบวนการสร้างชุมชนและทุนทางสังคมในสังคมไทย
dc.title.alternative Laos Buddhist Monk Network: Community and Social Capital Creating Process in Thai Society
dc.type Article
dc.identifier.bibliograpycitation วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 (2021): กรกฎาคม - สิงหาคม
dc.description.abstractthai บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) ศึกษากระบวนการสร้างชุมชนพระสงฆ์ลาว ในสังคมไทย 2) ศึกษากระบวนการก่อตัวของเครือข่ายพระสงฆ์ลาวในสังคมไทย และ 3) วิเคราะห์การส่งต่อทุนทางสังคมของเครือข่ายพระสงฆ์ลาวในสังคมไทย โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยแบบผสมผสานโดยการวิจัย เชิงปริมาณใช้การเก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือการวิจัยคือแบบสอบถามและวิเคราะห์สถิติแบบพรรณนาใน การอธิบายข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพได้ใช้การเก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือการวิจัยคือการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสนทนากลุ่มย่อยเพื่อสามารถทำความเข้าใจกระบวนการก่อตัว ของเครือข่ายและการสร้างทุนทางสังคม ผลการศึกษาพบว่า ประการหนึ่ง ปัจจัยที่เป็นกระบวนการสร้างชุมชนพระสงฆ์ลาวประกอบด้วย การใช้ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนา ระบบความสัมพันธ์ภายใต้การอุปถัมภ์ของรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง การมีระบบกิจการนิสิตนักศึกษาและการพัฒนาความสัมพันธ์ต่างประเทศของมหาวิทยาลัยสงฆ์ และความต้องการฟื้นฟูและสนับสนุนการรักษาพระพุทธศาสนาในสังคมไทย ประการที่สอง กระบวนการก่อตัว ของเครือข่ายพระสงฆ์ลาวในสังคมไทย เกิดขึ้นจากกระบวนการที่สำคัญคือการผลักดันจากชมรมพระนิสิตนักศึกษาลาวของมหาวิทยาลัยสงฆ์ การได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภาครัฐของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และการสนับสนุนจากพระสังฆาธิการของสังคมไทย และประการที่สาม การสามารถส่งต่อทุนทางสังคมของเครือข่ายพระสงฆ์ลาวในสังคมไทย จะแสดงออกผ่านโครงข่ายความสัมพันธ์ที่สมาชิกในเครือข่ายพระสงฆ์ลาวสร้างขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนหรือองค์กรในสังคมไทย ซึ่งพระสงฆ์ลาวสามารถส่งต่อภายในเครือข่ายจากการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับพระสังฆาธิการของไทยนำไปสู่การพัฒนาให้เกิดเครือข่ายความสัมพันธ์ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิกของพระสงฆ์ลาวที่อยู่ในสังคมไทยอีกด้วย


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics