DSpace Repository

การรับฟังความคิดเห็นเพื่่อประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ิพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560

Show simple item record

dc.contributor.author พรเพ็ญ ไตรพงษ์
dc.contributor.author เบญจวรรณ ธรรมรัตน์
dc.contributor.author ภูมิ มูลศิลป์
dc.date.accessioned 2024-01-08T04:34:30Z
dc.date.available 2024-01-08T04:34:30Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ombudsman/article/view/264375
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29718
dc.description.abstract The evaluation of the achievement of the Organic Act on the National Human Rights Commission of 2017 is a qualitative research method using data collection methods, including document research, interviews and focus groups. whose target group is 1) Persons directly related to the Organic Act on the National Human Rights Commission of 2017 2) Lawmakers Legislative agencies and 3) the general public to obtain complete information to support the evaluation of the achievement of the Organic Act on the National Human Rights Commission of 2017. The results showed that the Constitutional Assembly Act on the National Human Rights Commission B.E. 2560 (2017) contained certain provisions that did not comply with the Paris Principles and hindered the implementation of the work of promoting, supporting and protecting human rights violations. In Section 1, it was found that the composition of the Nomination Committee and the nomination process of the National Human Rights Committee Complexity causes delays. Create inequality and unfairness In Category 2, it was found that There are provisions that deprive the National Human Rights Commission of its absolute independence in accordance with the aims of the Constitution and the Paris Principles. In particular, the duty to clarify and report facts in cases where the situation regarding human rights in Thailand is inaccurately and fairly reported in accordance with Article 26 (4) and Article 44 create an international image of acting on behalf of the Thai government. In addition, the lack of power to mediate, the power to refer matters to the Constitutional Court. Administrative courts and the power to sue in a court of law on behalf of the victims As a result, the duty to protect and protect human rights violations is limited and not as successful as it should be. CHAPTER 3 was found that the Office of the National Human Rights Commission has developed the organization to be international. fashionable Fast and convenient However, under budget constraints, it is not possible to develop technology and expand regional networks effectively. The penalty provisions in Section 4 are found to be appropriate, but there should be additional mandatory measures if government agencies do not cooperate in the investigation or fact-finding of the National Human Rights Commission.
dc.subject กฎหมาย
dc.subject การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางกฎหมาย
dc.subject พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560
dc.subject Law
dc.subject Evaluation of Legal Achievements
dc.subject Constitutional Assembly Act on the National Human Rights Commission B.E. 2560
dc.title การรับฟังความคิดเห็นเพื่่อประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ิพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560
dc.title.alternative Public hearing for the evaluation of the achievement of the Organic Act on National Human Rights Commission of 2017
dc.type Article
dc.identifier.bibliograpycitation วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน, ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุุนายน 2566
dc.description.abstractthai การประเมินผลสัมฤทธิ์พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย คือ 1) ผู้เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 โดยตรง 2) ผู้ร่างกฎหมาย หน่วยงานด้านนิติบัญญัติ และ 3) บุคคลทั่วไป เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์มาประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ผลการวิจัยพบว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ยังมีบทบัญญัติบางประการที่ไม่ได้สอดรับตามหลักการปารีส และเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในการส่งเสริม สนับสนุน และปกป้องคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยในหมวด 1 พบว่า องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา และกระบวนการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีความซับซ้อนก่อให้เกิดความล่าช้า สร้างความเหลื่อมล้ำและไม่เป็นธรรม ในหมวด 2 พบว่า มีบทบัญญัติที่ทำให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติขาดความเป็นอิสระโดยแท้จริงตามจุดมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญและหลักการปารีส โดยเฉพาะการกำหนดหน้าที่ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องและเป็นธรรม ตามมาตรา 26 (4) ประกอบมาตรา 44 ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ต่อสากลว่าทำหน้าที่แทนรัฐบาลไทย นอกจากนี้ การขาดอำนาจในไกล่เกลี่ย อำนาจเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และอำนาจฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย ทำให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการปกป้องและคุ้มครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนมีอย่างจำกัดและไม่สัมฤทธิ์ผลเท่าที่ควร หมวด 3 พบว่า สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีการพัฒนาองค์กรให้มีความเป็นสากล ทันสมัย สะดวกและรวดเร็ว อย่างไรก็ดี ภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณทำให้ยังไม่สามารถพัฒนาด้านเทคโนโลยีและการขยายเครือข่ายการทำงานส่วนภูมิภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านบทกำหนดโทษในหมวด 4 พบว่ามีความเหมาะสม แต่ควรมีมาตรการบังคับอื่นเพิ่มเติมกรณีหน่วยงานภาครัฐไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบหรือแสวงหาข้อเท็จจริงของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics