DSpace Repository

การศึกษาเบื้องต้นในการหาวิธีการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความพรุนกับความนำไฟฟ้าของโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทวีชัย อวยพรกชกร th_TH
dc.contributor.advisor วิไลพร ไกรสุวรรณ th_TH
dc.contributor.author บัณฑิต พิบูลย์ th_TH
dc.contributor.author ปรายฟ้า พิกุลแก้ว th_TH
dc.contributor.author สิรินธร วงษ์คำหาญ th_TH
dc.date.accessioned 2023-09-01T08:25:58Z
dc.date.available 2023-09-01T08:25:58Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28975
dc.description.abstract Fabrication scaffold as a template used in cell culture requires appropriate porosity and pore size. Therefore, the porosity must be investigated to enable cells to grow through the scaffold. This engineering project objective is to study a method for preliminary investigation of scaffold porosity using Electrical Impedance Spectroscopy (EIS) technique and to investigate the correlation between the porosity and conductivity in the scaffold, the fabricate materials were Qatarized Chitosan and Bacterial Cellulose mixed with different amounts of Polyvinyl Alcohol. Fabrication was carried out by Freeze Dry method. After that, the swelling ratio was performed to determine the porosity percentage of the scaffold. The electrical conductivity was measured using Electrical Impedance Tomography (EIT) with a Wenner Array tipped electrode probe to determine the correlation between the porosity and the electrical conductivity in a scaffold that is immersed in a vacuum removed saline solution. The experiment concludes that The correlation between scaffold porosity and conductivity of scaffold was positive. Also, when increasing the amount of Polyvinyl Alcohol, as a result, the porosity of Polyvinyl Alcohol material was reduced by an average of 6.73 percent. This is different from the composite Polyvinyl Alcohol material. The average porosity was increased by 9.34 percent, The correlation of both materials increased according to the amount of Polyvinyl Alcohol as well. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การศึกษาเบื้องต้นในการหาวิธีการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความพรุนกับความนำไฟฟ้าของโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด th_TH
dc.title.alternative Preliminary study: methods of investigation the correlation between porosity and electrical conductivity of scaffold th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ th_TH
dc.subject.keyword โครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด th_TH
dc.subject.keyword สเปกโทรสโกปี th_TH
dc.subject.keyword อิมพีแดนซ์ไฟฟ้า th_TH
dc.description.abstractthai การขึ้นรูปโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด (Scaffold) เป็นแม่แบบที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่ต้องคำนึงถึงความพรุนและขนาดรูพรุนที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเซลล์ จึงต้องมีการตรวจสอบความพรุน เพื่อให้เซลล์สามารถเจริญเติบโตผ่านโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดได้ ดังนั้นโครงงานวิศวกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการตรวจสอบความพรุนในโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดเบื้องต้นโดยใช้เทคนิคสเปกโทรสโกปี อิมพีแดนซ์ไฟฟ้า (Electrical Impedance Spectroscopy : EIS) และศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างความพรุนกับความนำไฟฟ้าในโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด วัสดุที่ใซ้ในการขึ้นรูปคือ ไคโตซาน (Qatarized chitosan) และแบคทีเรียลเซลลูโลส (Bacterial Cellulose) ผสมพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ในปริมาณสารที่แตกต่างกัน ผ่านการขึ้นรูปด้วยวิธีการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง (Freeze Dry) หลังจากนั้นทำการทดสอบอัตราการบวมตัว (Swelling Ratio) เพื่อหาเปอร์เซ็นต์ความพรุน (Porosity Percentage) ของโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด และวัดค่าความนำไฟฟ้าโดยใช้เครื่องมือโทโมกราฟี อิมพีแดนซ์ไฟฟ้า (Electrical Impedance Tomography : EIT) เพื่อนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างความพรุนกับความนำไฟฟ้าในโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด จากการทดลองสรุปได้ว่า วิธีการตรวจสอบความพรุนในโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดจะใช้อิเล็กโทรดแบบโพรบปลายแหลมวัดความต้านทานไฟฟ้าแบบ Wenner Array สำหรับการหาความนำไฟฟ้าของโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดที่ถูกแช่นํ้าเกลือที่กำจัดฟองอากาศออกด้วยระบบสูญญากาศ และความสัมพันธ์ระหว่างความพรุนกับค่าความนำไฟฟ้าของโครงร่างเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิด โดยรวมเป็นความสัมพันธ์เชิงบวก อีกทั้งเมื่อเพิ่มปริมาณสารพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ส่งผลให้วัสดุพอลิไวนิลแอลกอฮอล์มีความพรุนลดลงเฉลี่ยร้อยละ 6.73 แตกต่างจากวัสดุคอมโพสิตพอลิไวนิลแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 9.34 ซึ่งวัสดุทั้งสองชนิดมีความสัมพันธ์เพิ่มขึ้นตามปริมาณสารพอลิไวนิลแอลกอฮอล์อีกด้วย th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics