DSpace Repository

ผลของการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน ที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความ และเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.author ศิวาพัชร์ ลิ้มสุธาพัฒน์
dc.contributor.author ศุภวรรณ สัจจพิบูล
dc.date.accessioned 2023-06-13T10:18:20Z
dc.date.available 2023-06-13T10:18:20Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28498
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 วันที่ 17 มิถุนายน 2559
dc.description.abstract The aim of this research were 1) to compare Reading Comprehension Ability and Attitude Toward Reading Comprehension in Thai Language of Grade Six Students before and after they have been taught by Scan and Run Strategy 2). to compare Reading Comprehension Ability and Attitude Toward Reading Comprehension in Thai Language of Grade Six Students taught by Scan and Run Strategy with those taught by conventional instruction. The samples of this study were 2 Classrooms of The Sixth Grade Primary School Students at Chumchonbanputoei School under the Official 0f Primary Education Service Phetchabun Area 3. There were 54 Students by Purposive Sampling, the experimental group taught by Scan and Run Strategy the other was the control group taught by conventional instruction. The research instruments were lesson plans of the Scan and Run Strategy and conventional instruction, Reading Comprehension Ability Test and Attitude Toward Reading Comprehension in Thai Language test. The data were analyzed by arithmetic One-way MANOVA, Repeated measures MANOVA, Mean (M) and Standard Deviation (SD). The results showed that 1) Reading Comprehension Ability and Attitude Toward Reading Comprehension in Thai Language of The Sixth Grade Students was significantly higher than before receiving instruction at the level of .05. 2) Reading Comprehension Ability and Attitude Toward Reading Comprehension in Thai Language of The Sixth Grade Students taught by Scan and Run Strategy was significantly higher than those taught by conventional instruction at the .05 level
dc.subject การอ่านจับใจความ
dc.subject การอ่านภาษาไทย
dc.subject Reading Comprehension Ability
dc.subject Thai Language
dc.title ผลของการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน ที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความ และเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
dc.title.alternative The Effects of Teaching Based on the Scan and Run Strategy on Reading Comprehension Ability and Attitude toward Reading Comprehension in Thai Language of Grade Six Students
dc.type Article
dc.description.abstractthai การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ และเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน ก่อนและหลังการทดลอง 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ และเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน กับนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบเดิมกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนชุมชนบ้านพุเตย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 3 จำนวน 2 ห้อง รวม 54 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง สอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน และกลุ่มควบคุมได้รับการสอนแบบเดิมเป็นการสอนแบบบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน แผนการสอนแบบเดิม แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความ และแบบสอบถามวัดเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย สถิตที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย คะแนนเฉลี่ย ค่าความแปรปรวนของคะแนน และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบวัดซ้ำ ( Repeated measures MANOVA) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way MANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการอ่านจับใจความ และเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการอ่านจับใจความและเจตคติต่อการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธีสแกนแอนด์รัน สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบเดิม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics