DSpace Repository

การพัฒนาหนังสือกึ่งของเล่น เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็ก อายุ 4 – 6 ปี

Show simple item record

dc.contributor.author เกศกนก ลมงาม
dc.contributor.author ยศไกร ไทรทอง
dc.contributor.author กรกลด คำสุข
dc.date.accessioned 2023-06-13T10:02:48Z
dc.date.available 2023-06-13T10:02:48Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28484
dc.description รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9
dc.description.abstract The purposes of this research are as follows: 1) To study Executive Function which is necessary for the development in 4 to 6-year-old children 2) To determine criteria for distinguishing toy books’ contents which are appropriate for the development of Executive Function in 4 to 6-year-old children. The subjects were 30 children who are 4 to 6-year-old studying in alternative schools. The questionnaire was conducted to acquire two sections of information as follows: 1) Data derived from twenty specialists who have longer than three years of teaching experiences in alternative schools. The questionnaire was scored from 1-5; in accordance with the Rating Scale by Likert, to facilitate the experts’ evaluation of Executive Function which is necessary for the development in 4 to 6-year-old children. 2) Data derived from specialists, three in total, who have more than five years experiences in Children’s Literature and other relevant fields. The collection of data is conducted in the form of an interview. The opinions for the Executive Function which are necessary for the development in 4 to 6-year-old children, given by the experts are resulted as follows: 1) The most important skill for contributing Executive Function which is necessary for the development in 4 to 6-year-old children is “Emotional Control” averagely valued 4.5 and “Goal-Directed Persistence” valued 4.3, respectively. 2) The suggestions, given by the experts, about appropriate contents for the development in 4 to 6-year-old children are distinct separations of each aspect in Management Thinking Skills or Executive Function into one book. The contents which should be cultivated, in terms of “Emotional Control”, are the abilities to control and suppress one’s own anger. The protagonist should express his emotion clearly, therefore, the story could end up where the protagonist must repay as a consequence. For “Goal-Directed Persistence” aspect, the aim is to instruct the children to accomplish the given assignments. The protagonist must express his effort which is, distinctly, seen as “good actions leads to good consequences."
dc.subject การคิดเชิงบริหาร
dc.subject หนังสือกึ่งของเล่น
dc.subject โรงเรียนทางเลือก
dc.subject Executive functions
dc.subject Toy books
dc.subject Alternative school
dc.title การพัฒนาหนังสือกึ่งของเล่น เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็ก อายุ 4 – 6 ปี
dc.title.alternative Development of toy books for enhancement in executive functions of children aged 4 – 6 years
dc.type Article
dc.description.abstractthai งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาทักษะการคิดเชิงบริหารที่มีความจำเป็นต่อการเสริมสร้างในเด็กช่วงอายุ 4 - 6 ปี 2) เพื่อค้นหาข้อกำหนดในการแต่งเนื้อหาของหนังสือกึ่งของเล่นที่มีความเหมาะสมสำหรับการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงบริหารมีความเหมาะสมต่อเด็กอายุ 4 - 6 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กช่วงอายุ 4 – 6 ปี ที่ศึกษาในโรงเรียนทางเลือกจำนวน 30 คน การวิจัยครั้งนี้ได้มีการสร้างแบบสอบถามโดยได้ทำการเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่ 1) การเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การสอนในโรงเรียนทางเลือกเป็นเวลาไม่ต่ากว่า 3 ปี จำนวน 20 ท่าน โดยการตอบแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) เป็น 5 ระดับตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมินทักษะการคิดเชิงบริหารที่มีความจำเป็นต่อการเสริมสร้างในเด็กช่วงอายุ 4 – 6 ปี 2) การเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านวรรณกรรมเด็กและสาขาใกล้เคียง โดยมีประสบการณ์การทำงานเป็นเวลาไม่ต่ากว่า 5 ปี จำนวน 3 ท่าน ใช้การเก็บข้อมูลในรูปแบบการสัมภาษณ์ (Interview) ผลการวิจัยพบว่าทักษะการคิดเชิงบริหารที่มีความจำเป็นต่อการเสริมสร้างในเด็กช่วงอายุ 4 – 6 ปี ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ความเห็น ดังนี้ ผลการวิจัยข้อที่ 1) ทักษะการคิดเชิงบริหารที่มีความจำเป็นต่อการเสริมสร้างในเด็กอายุ 4 - 6 ปี โดยทักษะที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์มีความจำเป็นมากที่สุดต่อการเสริมสร้างคือ การควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) มีค่าเฉลี่ย 4.5 และการมุ่งสู่เป้าหมาย (Goal - Directed Persistence) มีค่าเฉลี่ย 4.3 ตามลำดับ ผลการวิจัยข้อที่ 2) เนื้อหานิทานที่มีความเหมาะสมสำหรับการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงบริหารต่อเด็กอายุ 4 - 6 ปีพบว่า ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้แยกเนื้อหาของทักษะการคิดเชิงบริหารในแต่ละด้านออกจากกันอย่างชัดเจนเป็นทักษะละ 1 เล่ม โดยเนื้อหาเรื่องการควบคุมอารมณ์ที่ควรปลูกฝังในเด็กคือ สามารถสอนให้เด็กควบคุมอารมณ์โกรธ ตัวละครที่ดำเนินเรื่องควรแสดงออกทางอารมณ์อย่างชัดเจน ซึ่งเป็นเหตุให้ตัวละครได้รับผลของการใช้อารมณ์ และเนื้อหาเรื่องของการมุ่งสู่เป้าหมายคือ สามารถสอนให้เด็กทำสิ่งที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จ ตัวละครที่ดำเนินเรื่องต้องแสดงออกซึ่งความพยายาม โดยเห็นได้อย่างชัดเจนว่าตัวละครมีความพยายามและได้รับผลลัพธ์ที่ดีจากการกระทำ


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics