DSpace Repository

จะเข้: การผลิตอัตลักษณ์ทางดนตรีในบริบทของดนตรีประจาชาติ

Show simple item record

dc.contributor.author มนศักดิ์ มหิงษ์
dc.date.accessioned 2023-06-09T09:03:19Z
dc.date.available 2023-06-09T09:03:19Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28430
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5
dc.description.abstract Ja-Khay is the musical instruments that found records in Ayutthaya period. The instrument is presumed Originating in northern India and was spread into Mon, Burmese, Khmer, and Thai Culture. Some Mon and Khmer ethnics group played a musical instrument shaped like Ja-Khay that represented the conjunct of music culture. In Thailand - the reign of King Rama VI, Thai musical instruments were practical played in during this period and therefore case of study - nine Thais Ja-Khay Craftsmen created Ja-Khay as traditional music which have the concordance of structure, shape, ratio, and materials. Moreover, each craftsmen have own identity to create traditional music is formality, tools and appliances, believes, marketing of instrument, and setting of tones. The current prototype of Ja-Khay master gain knowledge and creation skills are from Duriyabhan music store and therefrom it spreads all around country because of musician and musical education influences to set quality standards and identity of traditional music. The Mathematics proportions base of the invention constitutes an identity to context of Traditional music succession.
dc.subject จะเข้
dc.subject อัตลักษณ์
dc.subject ดนตรีประจำชาติ
dc.subject Ja-Khay
dc.subject Identity
dc.subject Traditional Music
dc.title จะเข้: การผลิตอัตลักษณ์ทางดนตรีในบริบทของดนตรีประจาชาติ
dc.title.alternative Ja-Khay: A Production of Musical Identity in the Context of Traditional Music
dc.type Article
dc.description.abstractthai จะเข้เป็นเครื่องดนตรีที่พบการบันทึกในสมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่า มีต้นกำเนิดที่ประเทศอินเดียตอนเหนือและแพร่วัฒนธรรมสู่มอญ พม่า เขมร และไทย ชาติพันธุ์มอญและเขมรบางกลุ่มยังคงบรรเลงดนตรีรูปร่างจระเข้ จะเข้จึงเป็นวัฒนธรรมดนตรีร่วมดินแดน ช่วงรัชกาลที่ 6 เกิดแบบแผนการบรรเลงดนตรีไทยขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม กรณีศึกษาช่างประดิษฐ์จะเข้ จำนวน 9 คน พบความสอดคล้องทางด้านโครงสร้าง รูปทรง สัดส่วน วัสดุ ส่วนที่แตกต่างคือ หลักการ เครื่องมือผลิต ความเชื่อ การตลาด การกำหนดเสียง แบบแผนการผลิตจะเข้ปัจจุบันได้ต้นแบบความรู้และฝีมือการสร้างเครื่องดนตรีจากร้านดุริยบรรณ จากนั้นกระจายตัวไปสู่แหล่งต่าง ๆทั่วประเทศ นักดนตรีและการศึกษามีบทบาทต่อการกาหนดคุณภาพมาตรฐานและสร้างอัตลักษณ์ทางดนตรีไทย สัดส่วนคณิตศาสตร์ที่พบจากการสร้างจะเข้ถือเป็นการกำหนดอัตลักษณ์ทางดนตรีประจำชาติ


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics