DSpace Repository

ศึกษาการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของบางกะเจ้า

Show simple item record

dc.contributor.author กรรณิกา แว่นฟ้า
dc.contributor.author กฤษดา แตงสุวรรณ
dc.contributor.author จิรัฐิกาญจน์ เต็งน้อย
dc.contributor.author ฉัตรฑริกา กระเสาร์
dc.contributor.author ปฎิพัทต์ บริบูรณ์
dc.contributor.author สุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล
dc.contributor.author สุรีย์พร นิพิฐวิทยา
dc.date.accessioned 2023-06-09T08:49:39Z
dc.date.available 2023-06-09T08:49:39Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28410
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5
dc.description.abstract This study aims to estimate leaf area index (LAI) and above ground carbon sequestration (AGCS) of Bangkachao area. Six areas are selected as the study area. These are Bangkachao, Bangnamphueng, Bangyoe, Bangkrasorb, Bangkorbau and Songkanong.This study applies geoinformetics process, allometric equations, and fieldwork survey as a major of research methods. The result from allometric method of LAI at Tumbon Bangkachao, Bangnamphueng, Bangyoe, Bangkrasorb, Bangkorbau and Songkanong are approximately 5.70, 6.22, 5.58, 7.76, 5.43 and5.54 respectively. The AGCS is approximately 13,230.812, 2,746.37, 7,640.74487, 56,083.901, 9,870.3403 and 9,419.8048 kilograms of carbon respectively. The study can conclude that the fieldwork data and allometric equations can be effectively applied to estimate LAI and AGCS. At last, the results of this study can be implemented as a database for existing greenfield management as well as planning for new greenfield site.
dc.subject การกักเก็บคาร์บอน
dc.subject สมการแอลโลเมตรี
dc.subject Carbon Sequestration
dc.subject Allometric Equations
dc.title ศึกษาการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของบางกะเจ้า
dc.title.alternative The Study of Absorb Carbon Dioxide in Bangkachao
dc.type Article
dc.description.abstractthai การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณคำดัชนีพื้นที่ใบ (LAI) และการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน (AGCS) ของพื้นที่บางกะเจ๎า โดยมีพื้นที่ศึกษา คือ พื้นที่ 6 ตาบล ได๎แกํ บางกะเจ๎า บางน้าผึ้ง บางยอ บางกระสอบ บางกอบัว และทรงคนอง วิธีการศึกษาประกอบด๎วยกระบวนการทางด๎านภูมิสารสนเทศ สมการแอลโลเมตรี และข๎อมูลจากการสารวจภาคสนาม ผลการศึกษาจากกระบวนการแอลโลเมตรี พบวำดัชนีพื้นที่ใบของตาบลบางกะเจ๎า บางน้าผึ้ง บางยอ บางกระสอบ บางกอบัว และทรงคนองมีคำเทำกับ 5.70, 6.22, 5.58, 7.76, 5.43 และ 5.54 ตามลาดับ และการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินของตาบลบางกะเจ๎า บางน้าผึ้ง บางยอ บางกระสอบ บางกอบัว และทรงคนอง มีคำเทำกับ 13,230.812, 2,746.37, 7,640.74487, 56,083.901, 9,870.3403 และ 9,419.8048 กิโลกรัมคาร์บอน ตามลาดับ สรุปได๎วำ การศึกษาด๎วยข๎อมูลภาคสนาม และสมการแอลโลเมตรี สามารถประมาณคำดัชนีพื้นที่ใบ และการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินได๎อยำงมีประสิทธิภาพ และผลจากการศึกษาสามารถนาไปเป็นฐานข๎อมูลสาหรับการบริหารจัดการเพิ่มพื้นที่สีเขียวแหํงใหม่ได้เป็นอย่างดี


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics