DSpace Repository

การศึกษาทัศนคติของประชาชนชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารในบริบทของร้านอาหารริมทางในเขตรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor กิ่งกนก เสาวภาวงศ์
dc.contributor.author ณัฐชา มังกรเเก้ว
dc.contributor.author นัทศิมา เจริญกุล
dc.contributor.author นิลักษนาถ มงคลแก้วสกุล
dc.contributor.author พชระ แก้วคง
dc.contributor.author พิรัชญา นิลกําแหง
dc.contributor.author เมธวี ตระกูลศุภฤกษ์
dc.contributor.author วรินดา สุขเหม
dc.contributor.author ไววิทย์ แซ่อั้ง
dc.date.accessioned 2023-06-02T02:48:36Z
dc.date.available 2023-06-02T02:48:36Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28382
dc.description.abstract The purposes of the study were to find out the Attitude of Thai People towards Street Foods as Gastronomy Tourism and to develop a guideline for street foods as the gastronomy tourism in Bangkok Metropolis. Questionaires was used for collecting data from 400 Thai people who have an experience in Street Foods in Bangkok and Semi-structured interview was utilized as tools to for collecting data from 3 Gastronomy Tourism experts. The research result was used for developing a guideline for street food as the gastronomy tourism attraction. The results of the study were as follows: 1. Most of samples were female with 15 - 24 years, bachelor’s degree education level, most of samples occupation were private officers/state enterprises officers with average income per month more than 25,001 baht. 2. 2. The behaviors of Street Foods consuming, samples would go with friends about 2 - 3 participants at the time. The most famous Street Foods area is Yaowaraj because of the variety of food. friends, family, neighbor was the one that suggested for their travelling. Samples were mostly visited the street foods area in the evening between 1 - 2 hours, 2 - 4 times per month. The most popular food was main dish. The expense for meals was about 201-300 baht per time. Most of samples preferred to eat at the restaurant and travelled by public transport. 3. The opinions of Marketing Mix towards Gastronomy Tourism as Street Foods were in high level in factors of Product (x= 3.86, S.D. = 0.61) Price (x= 3.73, S.D. = 0.55) Place (x= 3.87, S.D. = 0.61) Promotion (x= 3.77, S.D. = 0.67) People (x= 4.20, S.D. = 0.68) and Process (x= 3.44, S.D. = 0.73) and medium level in factor of Physical Environment (x= 3.24, S.D. = 0.86). 4. The opinions of attitudes that was influence for promoting Street Foods as Gastronomy Tourism in factors of Gastronomy Tourism Knowledge (x= 3.71, S.D. = 0.56) and Thinking of Gastronomy Tourism (x= 4.11, S.D. = 0.56)
dc.language th
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject ทัศนคติ
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงอาหาร
dc.subject ร้านอาหารริมทาง
dc.subject ประชาชน
dc.subject Attitude
dc.subject Thai People
dc.subject Gastronomy Tourism
dc.subject Street Foods
dc.subject Bangkok
dc.title การศึกษาทัศนคติของประชาชนชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารในบริบทของร้านอาหารริมทางในเขตรุงเทพมหานคร
dc.type Working Paper
dc.description.abstractthai การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิง อาหารในบริบทของร้านอาหารริมทางในเขตกรุงเทพมหานคร และเพื่อพัฒนาแนวทางในการพัฒนา ร้านอาหารริมทางเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอาหารในอนาคต ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการ เก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เคยรับประทานอาหารริมทางในกรุงเทพมหานครที่ จํานวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้แบบ สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหารจํานวน 3 ท่าน จากนั้นนําผลการวิจัยมาทํา การกําหนดแนวทางพัฒนาร้านอาหารริมทางให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอาหาร ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏ ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุระหว้าง 15 - 24 ปี การศึกษาระดับ ปริญญาตรีอาชีพของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ คือ พนักงานเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีรายได้เฉลี่ย 25,001 บาทขึ้นไป 2. พฤติกรรมการบริโภคร้านอาหารริมทางของกลุ่มตัวอย่าง พบว่าส่วนใหญ่เดินทางไป ร้านอาหารริมทางกับเพื่อน ครั้งละ 2 - 3 คน แหล่งร้านอาหารริมทางที่ได้รับความนิยม คือ เยาวราช เนื่องจากความหลากหลายของอาหาร โดยมีเพื่อน/ครอบครัวเป็นผู้แนะนําการเดินทาง นิยมรับประทาน อาหารริมทางในช่วงเย็น โดยใช้เวลาในการรับประทานอาหารประมาณ 1 - 2 ชั่วโมง เดินทางไปแหล่งท่องเที่ยวเชิงอาหาร 2 - 4 ครั้งต่อเดือน เลือกรับประทาน อาหารคาว ที่ร้าน โดมีค่าใช้จ่ายแต่ละ ครั้งอยู่ที่201 - 300 บาท และเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ 3. ความคิดเห็นที่เกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดต่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารในบริบทของ ร้านอาหารริมทางอยู่ในระดับมาก ในด้านผลิตภัณฑ์ (x= 3.86, S.D. = 0.61) ด้านราคา (x = 3.73, S.D. = 0.55) ด้านสถานที่ (x = 3.87, S.D. = 0.61) ด้านการส่งเสริมการตลาด (x = 3.77, S.D. = 0.67) ด้านบุคคล/บุคลากร (x = 4.20, S.D. = 0.68) ด้านการจัดการสินค้าและบริการ (x = 3.44, S.D. = 0.73) และในระดับปานกลางในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (x = 3.24, S.D. = 0.86) 4. ความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศคติที่มีผลต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหารในบริบทของ ร้านอาหารริมทางทุกด้านอยู่ในระดับมาก คือ ด้านความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอาหาร (x = 3.71, S.D. = 0.56) และด้านความคิดเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอาหาร (x = 4.11, S.D. = 0.56)


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics