DSpace Repository

หลักความสัมพันธ์ห้าประการและหลักบรรทัดฐานสาม มุมมองของหลักจริยธรรมกับการรักษาเสถียรภาพของสังคมจีน

Show simple item record

dc.contributor.author สยุมพร ฉันทสิทธิพร
dc.date.accessioned 2023-01-27T05:35:43Z
dc.date.available 2023-01-27T05:35:43Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/132837
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27840
dc.description.abstract The ancient Chinese society mainly relied on ethics in order to control the behaviours of its members, based on the Five Relationships (consist of father and son, ruler and subject, husband and wife, elder brother and younger brother and friend and friend) and the Three cardinal norms (consist of father and son, ruler and subject, husband and wife) which are overlap and inseparable from each other. The Five Relationships act as a frame of relationship covering the whole society while the Three cardinal norms are deemed as a taproot supporting the society. Each pair of relationships is on the basis of ethics and its duty is to serve each other. Besides, each pair has its own characteristics and limitations. Confucianism regarded duty to serve each other in each pair of relationships more important and more widely accepted in the society than the written rules and regulations. The said duty unites so many people throughout society that it becomes the tough foundation, leading to the long-time stability of Chinese society. In addition, the Confucian ethics is unique in that it employs dialectic aspects between the Five Relationships and the Three cardinal norms, which support society stability by focusing mainly on feelings and mind rather than rationale. However, the rationale may sometimes be emphasized more than feelings and mind.
dc.subject จริยธรรม
dc.subject เสถียรภาพ
dc.subject Five Relationships
dc.subject Three Cardinal Norms
dc.subject Ethics
dc.subject Stability
dc.subject Duty
dc.title หลักความสัมพันธ์ห้าประการและหลักบรรทัดฐานสาม มุมมองของหลักจริยธรรมกับการรักษาเสถียรภาพของสังคมจีน
dc.title.alternative THE FIVE RELATIONSHIPS, THE THREE MAINSTAYS, VIEWPOINT FROM ETHICS AND THE STABILITY OF CHINESE SOCIETY
dc.type Articles
dc.identifier.bibliograpycitation วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2561
dc.description.abstractthai บทความนี้มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ของชุดจริยธรรมสองชุดที่ใช้ควบคุมสังคมจีนโบราณ ได้แก่หลักความสัมพันธ์ทั้งห้าประการ (ซึ่งประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบิดากับบุตร กษัตริย์กับขุนนาง สามีกับภรรยา พี่กับน้อง และเพื่อนกับเพื่อน) กับหลักบรรทัดฐานสาม (ซึ่งประกอบไปด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบิดากับบุตร กษัตริย์กับขุนนาง และสามีกับภรรยา) หลัก จริยธรรมทั้งสองชุด มีความเกี่ยวข้องทับซ้อนไม่อาจแยกออกจากกันได้ ความสัมพันธ์ทั้งห้าประการมีฐานะเป็นกรอบก าหนดความสัมพันธ์ครอบคลุมทั่วทั้งสังคม ส่วนหลักบรรทัดฐานสามมีฐานะเป็นรากแก้วค้ าจุนสังคมไว้อีกชั้นหนึ่ง ส าหรับความสัมพันธ์ในแต่ละคู่ ต่างมีคุณธรรมก ากับซึ่งถือเป็นหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อกันและกัน อีกทั้งแต่ละคู่ความสัมพันธ์ต่างมีลักษณะพิเศษและข้อจ ากัดที่ควรระวังด้วย ลัทธิหรู หรือ ลัทธิขงจื่อ มองว่าหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อกันในคู่ความสัมพันธ์เป็นสิ่งส าคัญกว่ากฎเกณฑ์ลายลักษณ์อักษรและเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปในสังคม มีผลเป็นสายใยรัดร้อยผู้คนทั่วทั้งสังคมจนกลายเป็นรากฐานหนาแน่นที่สร้างเสถียรภาพให้แก่สังคมจีนมาอย่างยาวนาน นอกจากนี้หลักจริยธรรมในแบบของลัทธิหรูยังมีลักษณะเด่นคือ มีความเป็นวิภาษวิธีระหว่างหลักความสัมพันธ์ทั้งห้าและหลักบรรทัดฐานสาม ที่เน้นสร้างเสถียรภาพทางสังคมด้วยพื้นฐานทางจิตใจมากกว่าเรื่องของเหตุผล แต่ บางครั้งก็สามารถเน้นเหตุผลเหนือพื้นฐานทางจิตใ


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics