DSpace Repository

การทดสอบการโก่งของฟันขุด

Show simple item record

dc.contributor.advisor สำรวย คะระนันท์ th_TH
dc.contributor.author เดโช ทาอินทร์ th_TH
dc.contributor.author ทรงวุฒิ ด้วงมหาสอน th_TH
dc.contributor.author มานนท์ คำแย้ม th_TH
dc.date.accessioned 2023-01-23T08:27:46Z
dc.date.available 2023-01-23T08:27:46Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27824
dc.description.abstract The main object of this project is determine appropriate of tillage tools for each condition of soil. The appropriation of tillage tools were determine from value of shear and compressive stress in the experiment. Experiment we use 3 types of tillage tools. Testing we fix moisture content and density of soil, depth and velocity of tillage tools in domain. The result of this experiment were show - In material type 2 were given stress and ditch width maximum - In material type 3 were given stress and ditch width minimum - In material type lwere given stress and ditch width medium between type 2 & 3 Thus, material type 2 appropriate to use in softness of soil and want more ditch width. Material type 3 appropriate to use in hardness of soil and want less ditch width. Material type 1 appropriate to use in soil hardness less than soil in type 3 but it can use in soil hardness more than type 2, ditch width of type 1 were medium between type 2 & 3 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher ภาควิชาวิศวกรรมเครี่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรืนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การทดสอบการโก่งของฟันขุด th_TH
dc.title.alternative Experimental of deflection in tillage tools th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword ความเครียดและความเค้น th_TH
dc.subject.keyword ฟันขุดไถ--การทดสอบ th_TH
dc.subject.keyword เครื่องมือการเกษตร--การทดสอบ th_TH
dc.description.abstractthai โครงงานวิศวกรรมศาสตร์ฉบับนี้ กล่าวถึงวิธีการทดสอบฟันขุดซึ่งมีใช้ในประเทศไทยโดยเลือกมาทำการทดสอบทั้งหมด 3 ชนิด โดยในการทดสอบได้ทั้งเงื่อนไขใน การทดสอบที่ความชื้นของดิน ความหนาแน่นของดิน ความลึกของฟันขุดในการใช้งาน และความเร็วเดียวกันเพื่อหาค่าความเค้นสูงสุดในแต่ละแนวแกนบนระนาบของฟันขุด และเพื่อหาค่าความเค้นเฉือนซึ่งเกิดขึ้นบนฟันขุด แล้วนำมาเปรียบเทียบเพื่อหาความเหมาะสมของการใช้งานในฟันขุดแต่ละชนิดผลการทดสอบออกมาปรากฎว่า ในฟันขุดแต่ละชนิดมีความเหมาะสมในการใช้งานที่แตกต่างกันโดยจากผลการทดสอบพบว่า ฟันขุดชนิดที่ 2 มีค่าความเค้นเกิดขึ้นมากที่สุด แต่ให้ความกว้างของร่องดินเมื่อใช้งานสูงสุด ดังนั้นฟันขุดชนิดนี้ จึงเหมาะสมที่จะใช้งานในดินที่มีความแข็งไม่มากและต้องการขนาดของร่องดินกว้าง ฟืนชุดชนิดที่ 3 มีค่าความเค้นเกิดขึ้นน้อยที่สุด แต่ให้ความกว้างของร่องดินตํ่าสุด ดังนั้นฟันขุดชนิดนี้ จึงเหมาะสมที่จะใช้งานในสินที่มีความแข็งมาก แต่ไม่ต้องการขนาดของร่องดินกว้าง ส่วนฟันขุดชนิดที่ 1 มีค่าความเค้นที่เกิดขึ้นบนฟันขุดเป็นกลางโดยเปรียบเทียบกับฟันขุดชนิดที่ 2 และ 3 และให้ค่าความกว้างของร่องดินเป็นกลางระหว่างชนิดที่ 2และ 3 ด้วยเช่นกัน ดังนั้นฟันขุดชนิดที่ 1 นี้ จึงเหมาะที่จะใช้ในดินที่มีความแข็งปานกลาง คือไม่แข็งมากเท่ากับดินที่ใช้กับฟันขุดชนิดที่ 3 แต่สามารถใช้ไดในสินที่มีความแข็งมากกว่าดินที่ใช้ในฟันขุดชนิดที่ 2 th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics