DSpace Repository

การศึกษาการรับรู้และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่มีต่อมาตรการในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชมพูนุท ภาณุภาส
dc.contributor.author นพสุมา สามิภักดิ์
dc.contributor.author นันทิชา ชูเงิน
dc.contributor.author เบญจพร ติดตานนท์
dc.contributor.author เพ็ญพิชา อยู่เย็น
dc.contributor.author วิชชุดา นิ่มอนงค์
dc.contributor.author วีรลักษณ์ ตองมีทอง
dc.contributor.author ศรัญญา ไวยวุฒิโท
dc.contributor.author อัจจิมา สุปรียาพร
dc.date.accessioned 2023-01-09T07:27:29Z
dc.date.available 2023-01-09T07:27:29Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27742
dc.description.abstract This research investigates the situation of measures in Thailand, along with foreign tourists' perceptions and confidence in domestic tourism measures, in the context of the COVID-19 pandemic, including offering recommendations for effective management of tourism measures in Thailand. The study integrates theories including perception and confidence theory. The questionnaires were collected total of 384 from both online and onsite at tourism destination by using convenience sample and interviewed total of 7 experts consist of foreign tourists entrepreneurs, government agencies, and the private sectors. The quantitative data analysis utilized the One-Way ANOVA, and the qualitative data analysis employed the Content Analysis. The result obtained show that the number of respondents was male, aged 20 to 30, single, and had a bachelor's degree; earnings of $1,639 per month or more, with the most of traveling coming from Europe, particularly Germany, and traveling through Test & GO measures. Gender demographics: differing perspectives and levels of confidence. There was no difference in perception and confidence based on age or status. There was no difference in perception in terms of education, but there was a difference in confidence. The aspect was acknowledged differently regarding income, but there was no difference in confidence. Overall, the measure was satisfactory; continue to be cautious and adjust steps following the COVID-19 situation. The interviewees believed in the procedures because they were meticulous regarding safety and public health. Consequently, government agencies and the private sectors should collaborate to achieve clarity and efficiency and raise tourist awareness and confidence.
dc.language th
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject การรับรู้
dc.subject ความเชื่อมั่น
dc.subject การท่องเที่ยว
dc.subject Perception
dc.subject Confidence
dc.subject Traveling
dc.subject Thailand
dc.title การศึกษาการรับรู้และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่มีต่อมาตรการในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
dc.title.alternative The study of the perception and confidence of foreign tourists towards the travel measures in thailand under the covid-19 pandemic situation
dc.type Working Paper
dc.description.abstractthai การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์ของมาตรการในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย และศึกษาการรับรู้และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีต่อมาตรการในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมถึงเสนอข้อเสนอแนะ ในการจัดการมาตรการการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยอย่างเหมาะสม เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ใช้เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จำนวน 384 คน และแบบสัมภาษณ์สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ผู้ประกอบการ ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จำนวน 7 ท่าน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่คือ เพศชายมีอายุ อยู่ระหว่าง 20 - 30 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้เท่ากับหรือมากกว่า 1,639 ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน เดินทางมาจากภูมิภาคยุโรปมากที่สุด คือ ประเทศเยอรมนี และเดินทางผ่านมาตรการ Test & GO ลักษณะประชากรศาสตร์ด้านเพศ มีการรับรู้และความเชื่อมั่นแตกต่างกัน ด้านอายุและสถานภาพมีการรับรู้และความเชื่อมั่นไม่แตกต่างกัน ด้านการศึกษามีการรับรู้ไม่แตกต่างกัน แต่มีความเชื่อมั่นแตกต่างกัน ด้านรายได้มีการรับรู้แตกต่างกัน แต่มีความเชื่อมั่นไม่แตกต่างกัน ในภาพรวมของมาตรการอยู่ในระดับดี มีความปลอดภัย และปรับเปลี่ยนมาตรการให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ของโรคโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง ผู้ให้สัมภาษณ์เชื่อมั่นต่อมาตรการ เพราะมีความเข้มงวด ในด้านความปลอดภัยและสาธารณสุข ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนควรประสานการทำงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดความชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสร้างการรับรู้และความเชื่อมั่น แก่นักท่องเที่ยว


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics