DSpace Repository

การสะกิดเพื่อส่งเสริมใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ ด้วยเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมกับครัวเรือน ในกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author อดุลย์ ศุภนัท th_TH
dc.contributor.author พีระ ตั้งธรรมรักษ์ th_TH
dc.contributor.author ธนาคม ศรีศฤงคาร th_TH
dc.contributor.author ณัฎฐ์ศุภณ ดำชื่น th_TH
dc.date.accessioned 2022-12-13T01:54:55Z
dc.date.available 2022-12-13T01:54:55Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25182
dc.identifier.uri https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/249428
dc.description.abstract This study aims to investigate how to encourage households to use bioplastic bags. Nudge theory is applied in the form of (1) nudge using the default option to promote the use of bioplastic bags and (2) nudge by providing positive information about the benefits of bioplastic bags or by providing damaging information about the adverse environmental impacts of single-use plastic bags. This paper also uses Randomized Control Trials (RCT) in Experimental Economics with 180 households in Bangkok. The study’s key findings lead to three conclusions: (1) Nudge using the default option can increase the opportunity of a sample to choose bioplastic bags by 19.34%. (2) Nudge with positive or negative information can increase the opportunity of the sample to choose bioplastic bags by 39.97% and 30.41%, respectively. (3) The consistently high price of bioplastic bags is another reason consumers are not interested in switching to bioplastic bags. The following policy recommendations are thus proposed: (1) In the case of department stores implementing a policy of refraining from handing out single-use plastic bags, they may instead opt to offer bioplastic bags as a default option for consumers. (2) Department stores can provide pictures or informational materials presenting the benefits of bioplastic bags or the environmental impacts of single-use plastic bags to consumers directly to encourage them to choose bioplastic bags. (3) A policy providing subsidies to reduce the cost of bioplastic bags can help motivate consumers to use bioplastic bags. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.title การสะกิดเพื่อส่งเสริมใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ ด้วยเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมกับครัวเรือน ในกรุงเทพมหานคร th_TH
dc.title.alternative Using Nudges to Encourage the Use of Bio-plastic Bags through Behavioral Economics with Households in Bangkok th_TH
dc.type Article th_TH
dc.subject.keyword ถุงพลาสติกชีวภาพ th_TH
dc.subject.keyword ทฤษฎีการสะกิด th_TH
dc.subject.keyword การใช้ทางเลือกหลัก th_TH
dc.subject.keyword การให้ข้อมูลเชิงบวก th_TH
dc.subject.keyword การให้ข้อมูลเชิงลบ th_TH
dc.subject.keyword bioplastic bags th_TH
dc.subject.keyword nudge theory th_TH
dc.subject.keyword default option th_TH
dc.subject.keyword positive information th_TH
dc.subject.keyword negative information th_TH
dc.identifier.bibliograpycitation วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มีนาคม, 2565 th_TH
dc.description.abstractthai การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมให้ครัวเรือนเลือกใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ ด้วยทฤษฎี การสะกิดในรูปแบบ (1) การสะกิดด้วยการใช้ทางเลือกหลักเพื่อส่งเสริมการใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ (2) การสะกิด ด้วยการให้ข้อมูลเชิงบวกถึงประโยชน์ของถุงพลาสติกชีวภาพ หรือ การสะกิดด้วยการให้ข้อมูลเชิงลบถึงผลเสียทาง สิ่งแวดล้อมของการใช้ถุงพลาสติกแบบทั่วไป ผ่านกระบวนการวิจัยเชิงทดลอง ด้วยวิธีการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่ม ควบคุมจากกลุ่มตัวอย่างครัวเรือน จำนวน 180 ครัวเรือน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษานำไปสู่ข้อสรุป 3 ประเด็น (1) การสะกิดด้วยการใช้ทางเลือกหลักสามารถช่วยให้กลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้มที่จะเลือกถุงพลาสติกชีวภาพ เพิ่มขึ้น 19.34% (2) การสะกิดด้วยข้อมูลเชิงบวกหรือ เชิงลบ สามารถช่วยให้กลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้มที่จะเลือกถุงพลาสติก ชีวภาพเพิ่มขึ้น 39.97% และ 30.41% ตามลำดับ (3) ราคาที่ยังคงสูงของถุงพลาสติกชีวภาพ คือ สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ ผู้บริโภคไม่สนใจที่จะเปลี่ยนมาใช้ถุงพลาสติกชีวภาพ สำหรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มีดังนี้ (1) กรณีห้างสรรพสินค้า ที่มีนโยบายงดแจกถุงพลาสติกแบบทั่วไป อาจเปลี่ยนจากการงดแจกถุงพลาสติก เป็นการเสนอถุงพลาสติกชีวภาพเป็น ทางเลือกหลักให้ผู้บริโภคซื้อ (2) ห้างสรรพสินค้า สามารถนำรูปหรือข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของถุงพลาสติกชีวภาพหรือ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการใช้ถุงพลาสติกแบบทั่วไป มาติดไว้ให้ผู้บริโภคเห็นได้ง่ายเพื่อเป็นการสะกิดให้ผู้บริโภค เลือกซื้อถุงพลาสติกชีวภาพมากยิ่งขึ้น (3) นโยบายให้เงินสนับสนุน เพื่อให้ถุงพลาสติกชีวภาพมีราคาถูกลง จะสามารถช่วยสร้างแรงจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อถุงพลาสติกชีวภาพมากยิ่งขึ้น th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics