DSpace Repository

กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (Rifampicin) ด้วยแถบสี

Show simple item record

dc.contributor.author ธงชัย แก้วพินิจ th_TH
dc.contributor.author สมชาย สันติวัฒนกุล th_TH
dc.contributor.author โกสุม จันทร์ศิริ th_TH
dc.contributor.author จัตุรงค์ ขำดี th_TH
dc.contributor.author สมศักดิ์ เหรียญทอง th_TH
dc.date.accessioned 2022-06-15T14:16:22Z
dc.date.available 2022-06-15T14:16:22Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22015
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher กรมทรัพย์สินทางปัญญา th_TH
dc.subject สิทธิบัตร th_TH
dc.title กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (Rifampicin) ด้วยแถบสี th_TH
dc.type Patent th_TH
dc.contributor.assignee มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.identifier.patentnumber 14021
dc.description.abstractthai กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (Rifampicin) ด้วยแถบสี เริ่ม จากการออกแบบไพรเมอร์ 4 เส้น ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (Rifampicin) ที่มี เบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 531 และ 526 ของยีนอาร์โพบี (rpoB) ซึ่งไพรเมอร์ตัวหนึ่งจะติดฉลากด้วยสารไบโอทิน (biotin) ในระบบนี้ดีเอ็นเอเป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิอุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) แล้วใช้ตัวตรวจจับติดสารเรืองแสง (FlTC) ด้วยการอ่านผลบน แผ่นดิพสติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู บริเวณแถบทดสอบ (T) และแถบควบคุม (C) แสดงว่า ในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 531 และ 526 ของยีนอาร์โพบี (rpoB) แต่ถ้าผลลบ จะปรากฏ เส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์ (PCR) และเครื่องแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้า ในการติดตามผลของปฏิกิริยา---------- แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 10/03/2559 กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยายาไรแฟมพิซิน (rifampicin) ด้วยแถบสี เริ่ม จากการออกแบบไพรเมอร์ 4 ตัว ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (rifampicin) ที่มีเบส กลายพันธืที่ตำแหน่ง 531 และ 526 ของยีนอาร์โบบี (rpoB) ซึ่งไพรเมอร์ตัวหนึ่งจะติดฉลากด้วยสารไบโอทิน (biotin) ในระบบดีเอ็นเอเป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) แล้วใช้ตัวตรวจจับติดสารเรืองแสง (FITC) ด้วยการอ่านผลบน แผ่นดิพสติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู บริเณแถบทดสอบ (T) และแถบควบคุม (C) แสดงว่า ในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 531 และ 526 ของยีนส์อาร์โบบี (rpoB) แต่ถ้าผลลบ จะปรากฏ เส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์ (PCR) และเครื่องแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้า ในการติดตามผลของปฏิกิริยา ---------- คำขอใหม่ปรับปรุง การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการป้องกันการกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (rifampicin) ที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ โดยเริ่มจากการออกแบบ primers 4 ตัว ที่ออกแบบจากลำดับเบสในส่วนยีนเชื้อ วัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (rifampicin) ที่ออกแบบจำนวน 2 ชุด โดยชุดที่ 1 สำหรับการตรวจหาลำดับเบสกลาย พันธุ์ที่ตำแหน่ง 531 บนยีน rpoB และ ชุดที่ 2 สำหรับตรวจหาลำดับเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 526 บนยีน rpoB ในระบบนี้ DNA เป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ผลการตรวจ พบว่าเทคนิค LAMP มีความจำเพาะในการตรวจสอบเชื้อวัณโรคกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไรแฟมพิซิน (rifampicin) เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิค PCR แบบ real time ต่อจากนั้นทำการออกแบบตัวตรวจจับ (probe) ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของผลผลิต LAMP ที่ได้ แล้วทดสอบสภาวะมี่เหมาะสม ในการตรวจสอบผลผลิต ของ LAMP ที่ได้บนแผ่น Dipstick แทนการตรวจสอบด้วยวิธี gel eletrophoresis ซึ่งจะใช้เวลาอีกเพียง 5-15 นาทีเท่านั้น


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Patents [230]
    A patent is a form of intellectual property

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics