DSpace Repository

การใช้คลื่นอัลตร้าโซนิคร่วมกับการใช้น้ำมันพืชในการสกัดไลโคปีนจากเยื่อหุ้มเมล็ดฟักข้าว

Show simple item record

dc.contributor.advisor พิสุทธิ หนักแน่น th_TH
dc.contributor.author เตชิต พรหมอารักษ์ th_TH
dc.contributor.author ศุภกฤต วรรธนะกุลกิจ th_TH
dc.date.accessioned 2022-03-24T05:49:16Z
dc.date.available 2022-03-24T05:49:16Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/19371
dc.description.abstract ปัจจุบันมีการใช้เยื่อหุ้มเมล็ดฟักข้าวในอุตสาหกรรมอาหาร ยา และเครื่องสําอางอย่างแพร่หลาย ซึ่ง วิธีการที่นิยมในการสกัดคือใช้ตัวทําละลายที่เป็นสารเคมีเพื่อทําลายโครงสร้างเซลล์พืช เพื่อสกัดสารในกลุ่มแค โรทีนอยด์จากเยื่อเมล็ดฟักข้าว ซึ่งหากไม่กําจัดสารเคมีออกได้หมดผู้บริโภคจะเกิดอันตรายต่อร่างกายขึ้นได้ งานวิจัยนีจึงศึกษาการใช้คลื่นอัลตร้าซาวด์ร่วมกับน้ํามันพืชสามารถที่บริโภคได้ซึ่งเลือกใช้น้ํามันพืชที่มีไขมันไม่ อิ่มตัว ได้แก่ น้ํามันทานตะวัน น้ํามันเมล็ดชา และน้ํามันเมล็ดแฟล็กซ์ ซึ่งดีต่อผู้บริโภค จากการศึกษาพบว่า การใช้คลื่นอัลตร้าซาวด์ร่วมกับการใช้น้ํามันให้ผลผลิตและสกัดได้ปริมาณไลโคปีนมากกว่าการใช้ตัวทําละลาย อินทรีย์ถึง 2 เท่า และปัจจัยทีสําคัญในการสกัดนอกจากการชนิดตัวทําละลายคือ ระยะเวลาในการสกัด เมื่อ เปรียบเทียบช่วงเวลาสกัดของ 60 นาที และ 120 แสดงให้เห็นว่า ผลผลิตและปริมาณไลโคปีนจาก กระบวนการสกัดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ(P>0.05) พบว่าปริมาณไลโคปีนสูงสุดที่สกัดได้มีปริมาณ 102.23±5.87 มิลลิกรัมต่อ100กรัม โดยใช้น้ํามันเมล็ดแฟล็กซ์ที่เวลาสกัด 120 นาที และผลได้ร้อยละสูงสุดอยู่ ที่ 82.21±2.82 เปอร์เซ็นต์โดยใช้น้ําเมล็ดชาที่เวลาสกัด 120 นาที th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สาขาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.subject ฟักข้าว th_TH
dc.subject ไลโคปีน th_TH
dc.subject อัลตร้าซาวด์ th_TH
dc.subject น้ำมันพืช th_TH
dc.title การใช้คลื่นอัลตร้าโซนิคร่วมกับการใช้น้ำมันพืชในการสกัดไลโคปีนจากเยื่อหุ้มเมล็ดฟักข้าว th_TH
dc.type Working Paper th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics