Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15736
Title: การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของพืชผักโดยใช้โออาร์พีมิเตอร์ พีเอชมิเตอร์และทีดีเอสมิเตอร์
Other Titles: Analysis antioxidant activity of vegetables by using orp meter ph meter and tds meter
Advisor : คมกฤษ ประเสริฐวงษ์
Authors: พรรษชล พัฒนมาศ
Keywords: Antioxidant Activity
Vegetable Juices
Magnetic Field
ORP Value
pH Value
TDS Value
ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ
สนามแม่เหล็ก
น้้าคั้นพืชผัก
Issue Date: 2560
Publisher: ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract: โครงงานวิศวกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ ของน้้าคั้นพืชผักก่อนและหลังผ่านสนามแม่เหล็ก จ้านวน 4 ชนิด ได้แก่ มะเขือเทศ ขมิ้น มะนาว และแตงกวา ด้วยวิธีการวัดค่าโออาร์พีโดยการใช้เครื่องมือวัดความสามารถในการลดการเกิดออกซิเดชัน วัดค่าพีเอชโดยการใช้เครื่องมือวัดปริมาณความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนและค่าทีดีเอส โดยการใช้ เครื่องมือวัดปริมาณของแข็งที่ละลายอยู่ในน้้าทั้งหมด ผลการศึกษาพบว่า หลังผ่านสนามแม่เหล็ก น้้าคั้น พืชผักมีค่าโออาร์พีลดน้อยลง โดยน้้าคั้นมะเขือเทศมีค่าโดยเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 167.12 มิลลิโวลต์ส่วนค่า ของน้้าคั้นขมิ้น แตงกวา และมะนาว มีค่า 181.76, 193.72 และ 238.20 มิลลิโวลต์ตามล้าดับ แสดงให้ เห็นว่าพืชทั้ง 4 ชนิด มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ โดยมะเขือเทศมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด รองลงมา คือ ขมิ้น แตงกวา และมะนาว ส่วนค่าพีเอชก่อนและหลังผ่านสนามแม่เหล็กพบว่า มีค่าใกล้เคียงกัน โดยน้้าคั้นมะเขือเทศมีค่าประมาณ 4.8 น้้าคั้นขมิ้นมีค่าประมาณ 6.5 น้้าคั้นมะนาวมีค่าประมาณ 3.4 และ น้้าคั้นแตงกวามีค่าประมาณ 6.3 ส่วนค่าทีดีเอสก่อนและหลังผ่านสนามแม่เหล็กพบว่า มีค่าใกล้เคียงกัน โดยน้้าคั้นมะเขือเทศมีค่าประมาณ 1,265 มิลลิกรัม/ลิตร น้้าคั้นขมิ้นมีค่าประมาณ 361 มิลลิกรัม/ลิตร น้้าคั้นมะนาวมีค่าประมาณ 1,910 มิลลิกรัม/ลิตร และน้้าคั้นแตงกวามีค่าประมาณ 565 มิลลิกรัม/ลิตร และเมื่อใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กของขดลวดตัวน้าที่พันเข้ากับแกนเหล็กพบว่า ค่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กมีค่าใกล้เคียงกันกับของแท่งแม่เหล็ก ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการ จึงสามารถน้ามาใช้แทนกันได้
The objective of this project were study and analyze the antioxidant capacity of four vegetable juices include Tomatoes, Turmeric, Lime and Cucumber that before and after through magnetic field. The Oxidation Reduction Potential meter is used to measure ORP value, the Positive Potential of Hydrogen ion meter is used to measure pH value and the Total Dissolved Solids meter is used to measure TDS value. The results showed that after through magnetic field vegetable juices have ORP values lowered by tomato juice with the lowest average value of 167.12 mV. Cucumber and lime were 181.76, 193.72 and 238.20 mV, respectively, indicating that all four plants had antioxidant activity. Tomato has the highest antioxidant activity. Secondly, Turmeric, Cucumber and Lime. The acidic-alkaline values before and after through magnetic field was found to be similar. The tomato juice was about 4.8, Turmeric juice was about 6.5, Lime juice was about 3.4 and Cucumber juice was about 6.3. The total dissolved solids values before and after through magnetic field was similar by Tomatoes juice was about 1,265 mg/l. Turmeric juice was about 361 mg/l. Lime juice was about 1,910 mg/l and Cucumber juice was about 565 mg/l. And when using a multimeter measure the magnetic flux density of the conductor coiled to the core. The magnitude of the magnetic flux density is similar to that of the magnetic bars, which have the same properties, so that they can be used interchangeably.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/15736
Appears in Collections:EleEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Putsachon_P.pdf
  Restricted Access
6.44 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.